(Buddhist Studies) หรือ พุทธศาสตรบัณฑิต (พุทธศาสตร์) ชื่อย่อว่า พธ.บ.(พุทธศาสตร์)
หลักสูตรการศึกษา
DOU จัดการศึกษาเป็นรายวิชา รายวิชาละ 5 หน่วยกิต โดยแบ่งเป็น 3 หลักสูตร คือ
หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
เรียนหมวดวิชาบังคับ 26 วิชา หมวดวิชาเลือก 2 วิชา รวม 28 วิชา ในการลงทะเบียน ลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 4 วิชา ต่อ 1 ภาคเรียนปกติ และไม่เกิน 2 วิชา ต่อภาคเรียนฤดูร้อน และลงทะเบียนได้ไม่จำกัดเวลา จนกว่าจะจบ
ครบจำนวนวิชาที่กำหนดในหลักสูตร เรียนจบรับปริญญาบัตรพุทธศาสตรบัณฑิตในพิธีรับปริญญา
หมวดวิชาบังคับ หมวดวิชาเลือก
1. กลุ่มวิชาเป้าหมายชีวิต
GL 101 จักรวาลวิทยา
GL 102 ปรโลกวิทยา
GL 203 กฏแห่งกรรม
GL 204 ศาสตร์แห่งการเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
GL 305 ปฏิปทามหาปูชนียาจารย์
2. กลุ่มวิชาสมาธิ
MD 101 สมาธิ 1: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสมาธิ
MD 102 สมาธิ 2: หลักการเจริญสมาธิภาวนา
MD 203 สมาธิ 3: อุปสรรคและวิธีแก้ไขในการทำสมาธิ
MD 204 สมาธิ 4: เทคนิคการทำสมาธิเพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย
MD 305 สมาธิ 5: หลักสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน
MD 306 สมาธิ 6: สมถกัมมัฏฐาน 40 วิธี (1)
MD 407 สมาธิ 7: สมถกัมมัฏฐาน 40 วิธี (2)
MD 408 สมาธิ 8: วิปัสสนากัมมัฏฐาน
3. กลุ่มวิชาความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา
GB 101 ความรู้พื้นฐานทางพระพุทธศาสนา
GB 102 สูตรสำเร็จการพัฒนาตนเอง
GB 203 สูตรสำเร็จการพัฒนาสังคมโลก
GB 304 สูตรสำเร็จการพัฒนาองค์กรและเศรษฐกิจ
GB 405 ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
GB 406 สรรพศาสตร์ในพระไตรปิฏก
4. กลุ่มวิชาพุทธวิธีในการพัฒนานิสัย
SB 101 วิถีชาวพุทธ
SB 202 วัฒนธรรมชาวพุทธ
SB 303 แม่บทการฝึกอบรมในพระพุทธศาสนา
SB 304 ชีวิตสมณะ
5. กลุ่มวิชาการทำหน้าที่กัลยาณมิตร
DF 101 การทำหน้าที่กัลยาณมิตรเบื้องต้น
DF 202 ทักษะการทำหน้าที่กัลยาณมิตร
DF 404 ศาสนศึกษา
1. กลุ่มวิชาความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา
GB 407 พระพุทธศาสนาในประเทศไทย
GB 408 ไวยกรณ์ภาษาบาลีเบื้องต้น
GB 409 การแปลภาษาบาลีเบื้องต้น
GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี
2. กลุ่มวิชาพุทธวิธีในการพัฒนานิสัย
SB 405 ชาดก วิถีนักสร้างบารมี
SB 406 การฝึกตนของสตรีตามพุทธวิธี
3. กลุ่มวิชาการทำหน้าที่กัลยาณมิตร
DF 303 เครือข่ายองค์กรกัลยาณมิตร
DF 405 สื่อเพื่อการทำหน้าที่กัลยาณมิตร
หลักสูตรประกาศนียบัตร 1 ปี
หลักสูตรประกาศนียบัตร 1 ปี ลงทะเบียนได้ไม่เกิน 4 วิชา ต่อ 1 ภาคเรียนปกติ และไม่เกิน 2 วิชาต่อภาคเรียนฤดูร้อน ผู้ยังไม่สำเร็จการศึกษาในปี 1 สามารถลงทะเบียนต่อในปีต่อไปได้ จนกว่าจะครบ 8 วิชา ที่กำหนด
1. กลุ่มวิชาเป้าหมายชีวิต
GL 101 จักรวาลวิทยา
GL 102 ปรโลกวิทยา
2. กลุ่มวิชาสมาธิ
MD 101 สมาธิ 1: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสมาธิ
MD 102 สมาธิ 2: หลักการเจริญสมาธิภาวนา
3. กลุ่มวิชาความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา
GB 101 ความรู้พื้นฐานทางพระพุทธศาสนา
GB 102 สูตรสำเร็จการพัฒนาตนเอง
4. กลุ่มวิชาพุทธวิธีในการพัฒนานิสัย
SB 101 วิถีชาวพุทธ
5. กลุ่มวิชาการทำหน้าที่กัลยาณมิตร
DF 101 การทำหน้าที่กัลยาณมิตรเบื้องต้น
หลักสูตรสัมฤทธิบัตร
นักศึกษาสามารถสมัครและลงทะเบียนเรียนได้ตามความสนใจ เทอมละ 2 วิชา โดยไม่จำกัดวุฒิการศึกษา แต่นักศึกษาต้องมีอายุไม่น้อยกว่า 16 ปีบริบูรณ์ และสามารถสะสมหน่วยกิตเพื่อขอปรับเป็นประกาศนียบัตร
1. กลุ่มวิชาเป้าหมายชีวิต
GL 101 จักรวาลวิทยา
GL 102 ปรโลกวิทยา
GL 203 กฏแห่งกรรม
GL 204 ศาสตร์แห่งการเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
GL 305 ปฏิปทามหาปูชนียาจารย์
2. กลุ่มวิชาสมาธิ
MD 101 สมาธิ 1: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสมาธิ
MD 102 สมาธิ 2: หลักการเจริญสมาธิภาวนา
MD 203 สมาธิ 3: อุปสรรคและวิธีแก้ไขในการทำสมาธิ
MD 204 สมาธิ 4: เทคนิคการทำสมาธิเพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย
MD 305 สมาธิ 5: หลักสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน
MD 306 สมาธิ 6: สมถกัมมัฏฐาน 40 วิธี (1)
MD 407 สมาธิ 7: สมถกัมมัฏฐาน 40 วิธี (2)
MD 408 สมาธิ 8: วิปัสสนากัมมัฏฐาน
3. กลุ่มวิชาความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา
GB 101 ความรู้พื้นฐานทางพระพุทธศาสนา
GB 102 สูตรสำเร็จการพัฒนาตนเอง
GB 203 สูตรสำเร็จการพัฒนาสังคมโลก
GB 304 สูตรสำเร็จการพัฒนาองค์กรและเศรษฐกิจ
GB 405 ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
GB 406 สรรพศาสตร์ในพระไตรปิฏก
GB 407 พระพุทธศาสนาในประเทศไทย
GB 408 ไวยกรณ์ภาษาบาลีเบื้องต้น
GB 409 การแปลภาษาบาลีเบื้องต้น
GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี
4. กลุ่มวิชาพุทธวิธีในการพัฒนานิสัย
SB 101 วิถีชาวพุทธ
SB 202 วัฒนธรรมชาวพุทธ
SB 303 แม่บทการฝึกอบรมในพระพุทธศาสนา
SB 304 ชีวิตสมณะ
SB 405 ชาดก วิถีนักสร้างบารมี
SB 406 การฝึกตนของสตรีตามพุทธวิธี
5. กลุ่มวิชาการทำหน้าที่กัลยาณมิตร
DF 101 การทำหน้าที่กัลยาณมิตรเบื้องต้น
DF 202 ทักษะการทำหน้าที่กัลยาณมิตร
DF 303 เครือข่ายองค์กรกัลยาณมิตร
DF 404 ศาสนศึกษา
DF 405 สื่อเพื่อการทำหน้าที่กัลยาณมิตร
สื่อที่ใช้ในการเรียน
วิชา สื่อที่ได้รับเมื่อลงทะเบียน สื่อเสริมประกอบการทำแบบฝึกหัด
1. กลุ่มวิชาเป้าหมายชีวิต
GL 101 จักรวาลวิทยา CD 1 แผ่น Case Study
GL 102 ปรโลกวิทยา CD 2 แผ่น Case Study
GL 203 กฏแห่งกรรม เอกสาร Case Study Case Study
GL 204 ศาสตร์แห่งการเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า CD 1 แผ่น -
GL 305 ปฏิปทามหาปูชนียาจารย์ - -
2. กลุ่มวิชาสมาธิ
MD 101 สมาธิ 1: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสมาธิ CD 1 แผ่น -
MD 102 สมาธิ 2: หลักการเจริญสมาธิภาวนา - -
MD 203 สมาธิ 3: อุปสรรคและวิธีแก้ไขในการทำสมาธิ - -
MD 204 สมาธิ 4: เทคนิคการทำสมาธิเพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย - -
MD 305 สมาธิ 5: หลักสมถวิปัสสนากัมมัฎฐาน - พระธรรมเทศนาของพระมงคลเทพมุนี 69 กัณฑ์
MD 306 สมาธิ 6: สมถกัมมัฏฐาน 40 วิธี (1) - -
MD 407 สมาธิ 7: สมถกัมมัฏฐาน 40 วิธี (2) - -
MD 408 สมาธิ 8: วิปัสสนากัมมัฏฐาน - -
3. กลุ่มวิชาความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา
GB 101 ความรู้พื้นฐานทางพระพุทธศาสนา - -
GB 102 สูตรสำเร็จการพัฒนาตนเอง - -
GB 203 สูตรสำเร็จการพัฒนาสังคมโลก เอกสาร Case Study Case Study
GB 304 สูตรสำเร็จการพัฒนาองค์กรและเศรษฐกิจ - -
GB 405 ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา เอกสารตามรอยฯ เอกสารตามรอยฯ
GB 406 สรรพศาสตร์ในพระไตรปิฏก
GB 407**พระพุทธศาสนาในประเทศไทย - -
GB 408**ไวยกรณ์ภาษาบาลีเบื้องต้น - -
GB 409**การแปลภาษาบาลีเบื้องต้น
GB 410**การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี - -
4. กลุ่มวิชาพุทธวิธีในการพัฒนานิสัย
SB 101 วิถีชาวพุทธ - -
SB 202 วัฒนธรรมชาวพุทธ - -
SB 303 แม่บทการฝึกอบรมในพระพุทธศาสนา - พระไตรปิฎก/หนังสือธรรมะ
SB 304 ชีวิตสมณะ - พระไตรปิฎก/ชีวประวัติพุทธสาวก-พุทธสาวิกา
SB 405**ชาดก วิถีนักสร้างบารมี - -
SB 406**การฝึกตนของสตรีตามพุทธวิธี
5. กลุ่มวิชาการทำหน้าที่กัลยาณมิตร
DF 101 การทำหน้าที่กัลยาณมิตรเบื้องต้น - พระไตรปิฏก/ คัมภีร์พระพุทธศาสนา
DF 202 ทักษะการทำหน้าที่กัลยาณมิตร -
DF 303**เครือข่ายองค์กรกัลยาณมิตร -
DF 404 ศาสนศึกษา CD 1 แผ่น
DF 405**สื่อเพื่อการทำหน้าที่กัลยาณมิตร
หมายเหตุ (**) หมายถึง วิชาเลือก
สื่อเสริมประกอบการทำแบบฝึกหัด นักศึกษาต้องหาข้อมูลด้วยตนเอง โดยมีตัวอย่างใน Website ให้
ภาคการศึกษา
DOU จัดการเรียนการสอนเป็น 2 ภาคการศึกษาและภาคฤดูร้อน ดังนี้
ภาค เริ่มตั้งแต่เดือน จนถึงเดือน
ภาคเรียนที่ 1 มกราคม พฤษภาคม
ภาคฤดูร้อน มิถุนายน สิงหาคม
ภาคเรียนที่ 2 กันยายน ธันวาคม
เป็นการเรียน วิชาละ 5 หน่วยกิต ซึ่งนักศึกษาจะเรียนรู้จากตำราเรียนควบคู่ไปกับการปฏิบัติ โดยทำกิจกรรมที่แต่ละวิชากำหนดไว้
หน่วยกิต รายวิชาที่ลงทะเบียน
วิชาที่กำหนด หลักสูตร
ประกาศนียบัตร 1 ปี ปริญญาตรี 4 ปี
หมวดวิชาบังคับ 40 หน่วยกิต 130 หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก
- 10 หน่วยกิต
รวม 40 หน่วยกิต 140 หน่วยกิต
* แต่ละวิชา เท่ากับ 5 หน่วยกิต (Credits)
* นักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนปีละ 1 วิชา (5 หน่วยกิต) เพื่อรับสัมฤทธิบัตรและสามารถนำมาสะสมเพื่อรับประกาศนียบัตร ได้ภายหลัง
จำนวนชุดวิชาที่ลงทะเบียนเรียน
หลักสูตรสัมฤทธิบัตร ลงทะเบียนได้ไม่เกิน 2 วิชาต่อ 1 ภาคเรียน
หลักสูตรประกาศนียบัตร 1 ปี ลงทะเบียนได้ไม่เกิน 4 วิชา ต่อ 1 ภาคเรียนปกติ และไม่เกิน 2 วิชาต่อภาคเรียนฤดูร้อน ผู้ยังไม่สำเร็จการศึกษาในปี 1 สามารถลงทะเบียนต่อในปีต่อไปได้ จนกว่าจะครบ 8 วิชา ที่กำหนด
หลักสูตรปริญญาตรี ลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 4 วิชา ต่อ 1 ภาคเรียนปกติ และไม่เกิน 2 วิชา ต่อภาคเรียนฤดูร้อน และลงทะเบียนได้ไม่จำกัดเวลา จนกว่าจะจบครบจำนวนวิชาที่กำหนดในหลักสูตร
ตัวอย่างแผนการศึกษา
ภาคเรียน ภาคเรียนที่1 ฤดูร้อน ภาคเรียนที่ 2
ปี
1 1. MD 101
สมาธิ 1: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสมาธิ
2. GL 101
จักรวาลวิทยา
3. SB 101
วิถีชาวพุทธ
4. GB 101
ความรู้พื้นฐานทางพระพุทธศาสนา 5. MD 102
สมาธิ 2: หลักการเจริญสมาธิภาวนา
6. GL 102
ปรโลกวิทยา 7. MD 203
สมาธิ 3: อุปสรรคและวิธีแก้ไขในการทำสมาธิ
8. GL 203
กฏแห่งกรรม
9. GB 102
สูตรสำเร็จการพัฒนาตนเอง
10. DF 101
การทำหน้าที่กัลยาณมิตรเบื้องต้น
2 11. MD 204
สมาธิ 4: เทคนิคการทำสมาธิเพื่อเข้าถึง พระธรรมกาย
12. GL 204
ศาสตร์แห่งการเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
13. SB 202
วัฒนธรรมชาวพุทธ
14. DF 202
ทักษะการทำหน้าที่กัลยาณมิตร 15. MD 305
สมาธิ 5: หลักสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน
16. GL 305
ปฏิปทามหาปูชนียาจารย์ 17. MD 306
สมาธิ 6: สมถกัมมัฏฐาน 40 วิธี (1)
18. GB 203
สูตรสำเร็จการพัฒนาสังคมโลก
19. GB 406
สรรพศาสตร์ในพระไตรปิฎก
20. SB 303
แม่บทการฝึกอบรมในระพุทธศาสนา
3 21. MD 407
สมาธิ 7: สมถกัมมัฏฐาน 40 วิธี (2)
22. GB 304
สูตรสำเร็จการพัฒนาองค์กรและเศรษฐกิจ
23. GB 405
ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
24. SB 304
ชีวิตสมณะ 25. MD 408
สมาธิ 8: วิปัสสนากัมมัฏฐาน
26. DF 404
ศาสนศึกษา 27. (วิชาเลือก)
28. (วิชาเลือก)
ภาคเรียน ภาคเรียนที่1 ฤดูร้อน ภาคเรียนที่ 2
ปี
1 1. GL 101
จักรวาลวิทยา 3. GB 101
ความรู้พื้นฐานทางพระพุทธศาสนา
4. SB 101
วิถีชาวพุทธ 5. GB 102
สูตรสำเร็จการพัฒนาตนเอง
2 7. MD 203
สมาธิ 3: อุปสรรคและวิธีแก้ไขในการทำ สมาธิ 8. GL 102
ปรโลกวิทยา 9. MD 204
สมาธิ 4: เทคนิคการทำสมาธิเพื่อเข้าถึง พระธรรมกาย
10. DF 101
การทำหน้าที่กัลยาณมิตรเบื้องต้น 11. MD 305
สมาธิ 5: หลักสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน
12. GL 203
กฏแห่งกรรม
3 13. MD 306
สมาธิ 6: สมถกัมมัฏฐาน 40 วิธี (1)
14. SB 202
วัฒนธรรมชาวพุทธ
15. GL 204
ศาสตร์แห่งการเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า 16. MD 407
สมาธิ 7: สมถกัมมัฏฐาน 40 วิธี (2)
17. GL 305
ปฏิปทามหาปูชนียาจารย์ 18. GB 203
สูตรสำเร็จการพัฒนาสังคมโลก
19. SB 303
แม่บทการฝึกอบรมในพระพุทธศาสนา
20. DF 202
ทักษะการทำหน้าที่กัลยาณมิตร
4 21. MD 408
สมาธิ 8: วิปัสสนากัมมัฏฐาน
22. GB 406
สรรพศาสตร์ในพระไตรปิฎก
23. SB 304
ชีวิตสมณะ 24. GB 304
สูตรสำเร็จการพัฒนาองค์กรและ เศรษฐกิจ 25. DF 404
ศาสนศึกษา 26. GB 405
ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
27. (วิชาเลือก)
การประเมินผลการศึกษา
DOU ให้ลำดับขั้นการแสดงความสามารถในการเรียนรู้ของนักศึกษาในการเรียนรู้ของนักศึกษาในแต่ละวิชาดังนี้
ลำดับขั้น ความหมาย
H ยอดเยี่ยม (Honour)
S ผ่าน (Satisfactory)
U ไม่ผ่าน (Unsatisfactory)
I รอพิจารณา (Incomplete)
การสอบวัดความรู้แบบองค์รวม (Comprehensive Test)
เมื่อนักศึกษาสอบผ่านทุกวิชาตามแผนการศึกษาระดับปริญญาตรีแล้วนักศึกษาทุกท่านต้องผ่านการสอบประเมินความรู้แบบองค์รวม (Comprehensive Test) ก่อน จึงจะได้รับอนุมัติปริญญา ซึ่งเนื้อหาการสอบประเมินความรู้แบบองค์รวมนี้ เน้นความเข้าใจในเนื้อหาวิชาบังคับที่ได้ศึกษามาทั้งหมด ไม่เน้นความจำ ซึ่งนักศึกษาจะต้องมาสอบในสถานที่และเวลาที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนด โดยจัดให้มีการสอบปีละ 2 ครั้ง ในช่วงต้นปี และกลางปี
เกณฑ์การได้รับเกียรตินิยม
มหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์เนีย มอบเกียรตินิยมแก่นักศึกษาที่มีความเพียรและความสามารถตามเกณฑ์ที่กำหนดทั้งหมด 4 ประการ ดังต่อไปนี้
ทำเกรดเฉลี่ยรวม (GPA) มากกว่า 3.6
คะแนนสอบวัดระดับความรู้องค์รวม (Comprehensive test) ได้ถึงระดับ H (ยอดเยี่ยม)
ไม่เคยลงทะเบียนซ้ำในวิชาเดิมเพื่อปรับผลการเรียน (Regrade) ตลอดหลักสูตรการศึกษา
ไม่เคยได้รับผลการเรียนในระดับ U (Unsatisfactory) หรือ "ไม่ผ่าน" ตลอดหลักสูตรการศึกษา
ทั้งนี้ เกณฑ์ข้อ 3 และ 4 ให้ใช้บังคับเฉพาะกับวิชาที่ลงทะเบียน
© 2008 Dhammakaya Open University. [email protected]
**Dhammakaya Open University (DOU) เป็นมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา ในระบบการศึกษาทางไกล จัดตั้งขึ้นเป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ตามรัฐบัญญัติการอุดมศึกษาและอาชีวศึกษาเอกชนมลรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา
DOU มีสำนักงานใหญ่ ณ เลขที่ 801, E. Foothill Blvd., P.O. Box 1036, Azusa, California, 91702, USA. DOU มีสำนักงานประสานงานในสหรัฐอเมริกา เป็นสำนักงานฯ ระดับภูมิภาค 6 แห่ง คือ ซีแอตเติ้ล เท็กซัส ชิคาโก นิวเจอร์ซี่ เวอร์จีเนีย แอตแลนต้า และนอกจากนี้ DOU ยังมีชมรมและศูนย์ประสานงานในระดับภูมิภาคนอกประเทศสหรัฐอเมริกา คือ ทวีปยุโรป 5 แห่ง ได้แก่ ประเทศอังกฤษ เยอรมัน ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม สเปน ทวีปเอเชีย 10 แห่ง ได้แก่ ญี่ปุ่น (โตเกียว โอซาก้า นางาโน่ โทชิหงิ) ไต้หวัน ฮ่องกง สิงคโปร์ มาเลเซีย (กัวลาลัมเปอร์ ปีนัง) รวมถึงโอเชียเนีย คือ ออสเตรเลีย (ซิดนีย์ เพิร์ท เมลเบิร์น) และนิวซีแลนด์
ในประเทศไทย DOU ได้มอบหมายให้ชมรมประสานงาน DOU เป็นตัวแทนการรับสมัครนักศึกษา และการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษา และการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษา DOU
Video แนะนำมหาวิทยาลัย >>>
เพลงประจำมหาวิทยาลัย >>>
ปรัชญา
DOU ยึดปรัชญาการศึกษาตลอดชีวิตแบบไร้พรมแดน เป็นการศึกษาควบคู่การดำรงชีวิต มุ่งให้ผู้เรียนได้ศึกษาและฝึกฝนศาสตร์แห่งความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นผู้มีวิถีชีวิตที่ถูกต้องดีงาม มีความสุขที่แท้จริงและสามารถเป็นผู้แนะนำบุคคลอื่นให้มีวิถีชีวิตที่ถูกต้องอย่างตนเองได้
โดยมีเป้าหมายทางการศึกษาให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักธรรมะทั้งภาคปริยัติและปฏิบัติในพระพุทธศาสนา ได้ฝึกประสบการณ์การปฏิบัติธรรมอย่างต่อเนื่อง มีความเข้าใจเรื่องโลกและชีวิตความเป็นจริง มีอุดมการณ์เป้าหมายชีวิตในการเกิดมาเป็นมนุษย์ สามารถฝึกฝนอบรมตนเองตามพุทธวิธี เป็นผู้มีลักษณะนิสัยที่งดงามนำความสงบเย็นมาสู่ชีวิตตน และบุคคลรอบข้าง สามารถเป็นกัลยาณมิตรให้กับตนเองและผู้อื่นได้
ทั้งเป็นการเปิดโอกาสและขยายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยไม่จำกัดเพศ วัย ศาสนาและเชื้อชาติ
ปณิธาน
1. มุ่งพัฒนาความเป็นเลิศในการให้การศึกษาศาสตร์แห่งความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ผ่านระบบการศึกษาทางไกล
2. มุ่งจัดการศึกษาให้ทั้งความรู้ทางวิชาการ และการฝึกฝนฝนในภาคปฏิบัติ เพื่อให้นักศึกษาสามารถ ซึมซับเอาความรู้ที่ได้ศึกษามาปฏิบัติจนเกิดความคุ้นเคย สามารถใช้งานได้จริง นำไปสู่วิถีชีวิต ที่สมบูรณ์เปี่ยมสุข
จุดมุ่งหมาย
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในพระธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทั้งด้านปริยัติ ปฏิบัติ และปฏิเวธ
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถ ในการทำหน้าที่กัลยาณมิตรให้แก่ตนเองและบุคคลในครอบครัว ในชุมชน และในสังคมโลก
3. เพื่อสร้างนักศึกษาให้เป็นผู้นำและต้นแบบทางศีลธรรมแก่สังคม เพื่อประโยชน์สุขของมวลมนุษยชาติ
กรรมการบริหาร
Founder ผู้ก่อตั้ง
พระราชภาวนาวิสุทธิ์ (ไชยบูลย์ ธมฺมชโย)
Phrarajabhavanavisudh
(Ven. Dhammajayo Bhikkhu)
Chairman, Board of Director นายกสภามหาวิทยาลัย
พระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทตฺตชีโว)
Phrabhavanaviriyakhun
(Ven.Dattajeevo Bhikkhu)
President อธิการบดี
พระมหาด็อกเตอร์สมชาย ฐานวุฑฺโฒ MD.,PhD. Phramahasomchai Thanavuddho
(Ven.Thanavuddho Bhikkhu)
© 2008 Dhammakaya Open University. [email protected]