เมื่อมองย้อนกลับไปในอดีตอาจกล่าวได้ว่าเป็นยุคของเหล่ามหาบุรุษ แต่ปัจจุบันเราจะเห็นได้ว่า เรื่องราวของ ‘คนเล็กคนน้อย’ ถูกหยิบนำมาเล่ามากขึ้น โดยพวกเราเองก็มีความพยายามที่จะสาดแสงไปยังคนเล็กๆ เช่นเดียวกัน
.
เพื่อเป็นการปิดท้ายการเดินทางของซีรีส์ “Unsung heroes” ที่พวกเรากองบรรณาธิการฝึกหัดนิตยสารยูงทองได้ตั้งใจหยิบเรื่องนี้มาเล่านับตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ โดยมีความตั้งใจให้ผู้อ่านได้เห็นความสำคัญกับคนที่อาจถูกมองว่าไม่สำคัญ
.
ในครั้งนี้เราจึงอยากชวนมองถึงที่มาที่ไปและทำความเข้าใจกับปรากฏการณ์ กับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จันทนี เจริญศรี อาจารย์ผู้สอนและคณบดีคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่จะพาเรามาไขเบื้องลึกที่ว่า ทำไมปัจจุบันเราถึงต่างให้ความสนใจกับคนเล็กคนน้อยมากขึ
อาชีพผู้ช่วยผู้กำกับคงเป็นอาชีพที่หลายคนเคยได้ยินผ่านหูมามาก แต่น้อยคนที่จะรู้ว่าอาชีพนี้ต้องทำอะไรบ้าง
.
ทักษะและประสบการณ์แบบใดที่จะหล่อหลอมให้คนคนหนึ่งสามารถควบคุมคนอื่นหลายสิบคน และพากองถ่ายไปข้างหน้าจนสรรค์สร้างสื่อมากมายให้ได้รับชม
.
วันนี้ Varasarn press จะพาผู้ชมไปจับเข่าคุยกับ “พริก อภิชญา ศรีนิธิชญานนท์” ผู้ช่วยผู้กำกับรุ่นใหม่ที่จะพาทุกท่านไปเข้าใจ-รู้ใจ-เห็นใจกับอาชีพผู้ช่วยผู้กำกับให้มากกว่าเดิม
สัปเหร่อ: อาชีพผู้ปิดทองหลังพระ (เมรุ)
.
‘ปู่น้อย - บุญศรี ปริวันตา’ เป็นที่รู้จักกันดีในกลุ่มชาวบ้านของหมู่บ้านเล็กๆ ในจังหวัดมหาสารคาม ในฐานะ ‘สัปเหร่อ’ ประจำหมู่บ้าน
.
ปู่น้อยคอยทำหน้าที่ส่งร่างผู้ตายครั้งสุดท้ายสู่เถ้ากระดูก มาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2516 นับได้ว่าเป็นเวลา 53 มาแล้ว ปัจจุบันปู่น้อยอายุ 71 ปี แต่ยังคงแข็งแรง และดูจะทำหน้าที่สัปเหร่อไปได้อีกยาวนาน
.
ถึงแม้จะเป็นอาชีพที่มีความสำคัญอย่างขาดไม่ได้ แต่รายได้ในฐานะสัปเหร่อของชุมชนเล็กๆ กลับไม่ดีนัก เพราะชาวบ้านมีข้อจำกัดด้านเศรษฐกิจ อีกทั้ง รายได้ของสัปเหร่อยังคงเป็นการให้ตามสินน้ำใจ หรือที่เรียกกันว่า “ใส่ซอง”
.
ถึงอย่างนั้น ปู่น้อยก็ยังคงเต็มใจทำอาชีพนี้ต่อไป เพราะถ้าขาดคนทำหน้าที่นี้ไปแล้ว ใครจะเป็นผู้คอยอยู่ในวาระสุดท้ายของผู้ที่ออกเดิน
ชวนทำความรู้จักกับฮัซซัน หรือ Lastcrosser
หนึ่งใน Shoutcaster ผู้เป็นตัวแปรในการทำลายกำแพงของ Watch party จนนำไปสู่การได้เป็น Co-streamer LCK แบบถูกลิขสิทธิ์
ดูต่อได้ที่ : https://varasarnpress.co/archives/4492
”มีสิ่งดีๆ ที่ทำแล้วอยากบอกคนอื่นไหม“
”มีสิ่งดีๆ ที่ทำแล้วอยากบอกคนอื่นไหม“
Varasarn Press อยากชวนผู้อ่านทุกท่านมาติดตามเรื่องราวของคนและสิ่งรอบตัว ว่าด้วย ’ผู้ปิดทองหลังพระ‘ ที่อาจถูกมองข้ามไป
พบกันเร็วๆ นี้
📍Vox pop : ย้อนรำลึก 6 ตุลา Ep.2
ย้อนรำลึกประวัติศาสตร์ 6 ตุลา เรียนรู้ความผิดพลาด เพื่อไม่ให้ประวัติศาสตร์ซ้ำร้อย
.
vox pop สั้น ๆ ที่จะพาไปฟังความเห็นว่าทำไมเราถึงไม่ควรลืมเหตุการณ์ 6 ตุลา 2519
.
เรื่อง : กัญญพัชร กาญจนเจตนี
ภาพ : กัญญพัชร กาญจนเจตนีและศิริลดา มีสุข
#Varasarnpress #6ตุลา2519 #47ปี6ตุลากว่าจะเป็นประชาธิปไตย
#theoctoberseries
📍Vox pop : ย้อนรำลึก 6 ตุลา Ep.1
ย้อนรำลึกประวัติศาสตร์ 6 ตุลา เรียนรู้ความผิดพลาด เพื่อไม่ให้ประวัติศาสตร์ซ้ำร้อย
.
vox pop สั้น ๆ ที่จะพาไปฟังความเห็นว่าทำไมเราถึงไม่ควรลืมเหตุการณ์ 6 ตุลา 2519
.
เรื่อง : กัญญพัชร กาญจนเจตนี
ภาพ : กัญญพัชร กาญจนเจตนีและศิริลดา มีสุข
#Varasarnpress #6ตุลา2519 #47ปี6ตุลากว่าจะเป็นประชาธิปไตย
#theoctoberseries
ทำความรู้จักกับ ‘ฟ้า’ ผู้ก่อตั้งเพจ ‘viva.la.virgin’ ผู้ที่ปล่อยจอยให้ ‘น้องหัวนม’ ได้เป็นอิสระ
เคยรู้สึกไหมว่า ‘น้องหัวนม’ ของเราไม่เป็นอิสระ ทั้งต้องเผชิญกับแรงกดทับของชุดชั้นใน ความอับชื้น ต่อให้จะปิดจุกแค่ไหน แต่ก็ไม่พ้นความเหนียวเหนอะหนะอยู่ดี เราจึงอยากเชิญชวนทุกคนมาทำความรู้จักกับ ‘ฟ้า’ หรือที่เพื่อนๆ รู้จักกันในวงการว่าฟ้าฟู ผู้ก่อตั้งเพจ ‘viva.la.virgin’ และผู้รณรงค์ปลดปล่อยให้ ‘น้องหัวนม’ ได้เป็นอิสระ
#Varasarnpress #freenips #ผู้หญิง #หน้าอก #หัวนม #nipples
Speak up! : คิดยังไงกับสวนป๋วย (อุทยานการเรียนรู้ป๋วย 100 ปี)
"เหมือนเอาไว้สวยอย่างเดียว"
.
.
.
"มันจะใช้ประโยชน์ไม่เฉพาะนักศึกษา... มันจะเป็นปอดที่ดีของแถวนี้ได้เลย"
อุทยานการเรียนรู้ป๋วย 100 ปี หรือที่มักเรียกกันสั้นๆ ว่า สวนป๋วย
พื้นที่สาธารณะแห่งใหม่ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่เกิดขึ้นเพื่อให้บริการประชาชน เราจึงอยากพาทุกคนมาสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษา และประชาชนเกี่ยวกับสถานที่แห่งนี้
Link : https://www.varasarnpress.co/media/speak-up/สวนป๋วย/
#Varasarnpress #หนังสือพิมพ์มหาวิทยาลัย #SpeakUp #อุทยานการเรียนรู้ป๋วย100ปี #สวนป๋วย
Interviewer : เก็จมณี ทุมมา, ตติยา ตราชู
Editor : เก็จมณี ทุมมา
Photographer : กัญญาภัค ขวัญแก้ว