อาสาพาไป

อาสาพาไป Creative

22/12/2024
22/12/2024
ท่องเที่ยว เรียนรู้ ดูงาน สร้างสรรค์สังคมเที่ยวไทยอบอุ่นใจ ไปกับ  ร่ ว ม บั น ทึ ก ก า ร เ ดิ น ท า ง วั น ดี  ๆ กั บ ฐิ...
12/12/2024

ท่องเที่ยว เรียนรู้ ดูงาน สร้างสรรค์สังคม
เที่ยวไทยอบอุ่นใจ ไปกับ
ร่ ว ม บั น ทึ ก ก า ร เ ดิ น ท า ง วั น ดี ๆ กั บ ฐิ ติ ท ร า เ ว ล
License number 42/00414
โทร. 0944599891, 0994096637

9.ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านขาม
ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านขาม จังหวัดพัทลุง คำขวัญประจำจังหวัด "เมืองหนังโนรา อู่นาข้าว พราวน้ำตก แหล่งนกน้ำ ทะเลสาบงาม เขาอกทะลุ น้ำพุร้อน" ภูเขาอกทะลุ สมัยโบราณผู้ที่เดินทางเรือในทะเลสาบสงขลา จะมองเห็นภูเขาอกทะลุเป็นที่หมายของเมืองพัทลุง ดังนั้นภูเขาอกทะลุจึงเป็นเอกลักษณ์ ในปัจจุบันชาวพัทลุงมีความเชื่อว่าเป็นภูเขาศักดิ์สิทธิ์เปรียบเสมือนหลักเมืองพัทลุง ทางจังหวัดจึงได้นำรูปภูเขาอกทะลุไปใช้เป็นตราประจำจังหวัด ที่มีความสำคัญเพราะทำหน้าที่เป็นเหมือน Landmark ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง และไม่ว่าจะมองจากจุดใดๆ ที่ห่างไกลออกไป ตั้งตฺระหฺง่านสูงโดดเด่น เห็นได้ชัด จังหวัดพัทลุงโดยสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพัทลุง ได้จัดทำโครงการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติ ด้วยแนวคิดการจัดกิจกรรมส่งเสริมเรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติ ค้นหาผู้จัดโปรแกรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์เด่น โดยพิจารณาข้อมูลการพัฒนา และความพร้อมของชุมชนในด้านต่างๆ เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยว การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารชุมชนท่องเที่ยว ผู้ประกอบการชุมชน ผู้จัดโปรแกรมท่องเที่ยว ด้วยแนวคิดการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติ ให้มีความพร้อมในการสร้างอัตลักษณ์เฉพาะของหมู่บ้าน ชุมชน ทั้งในด้านผลิตภัณฑ์ชุมชน สินค้าOTOP ของฝากของที่ระลึก สถานที่ท่องเที่ยว ประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมถึงการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ชุมชนท่องเที่ยวให้เป็น ที่รู้จักในวงกว้าง การขับเคลื่อนโครงการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรมของจังหวัดพัทลุง ได้รับการพัฒนายกระดับการท่องเที่ยว โดยใช้กระบวนการขับเคลื่อนงานด้านการท่องเที่ยวมาเป็นเครื่องมือ ในการพัฒนาชุมชนเพื่อให้เกิดรายได้ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน กิจกรรมส่งเสริม ส่งเสริมการเรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติ โดยออกแบบและจัดทำเอกสารแนะนำโปรแกรมการท่องเที่ยว พื้นที่เป้าหมาย 9 ชุมชน ในจังหวัดพัทลุง เพื่อสนับสนุนการจัดทำโปรแกรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และรูปแบบกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติ และประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวชุมชนผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติในโปรแกรมการท่องเที่ยว เขา เขา : พื้นที่ภูเขา เป็นส่วนสำคัญของจังหวัดพัทลุง เนื่องจากเป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร ที่ส่งน้ำหล่อเลี้ยงพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัด มีลักษณะเป็นเทือกเขาที่มียอดสูง ๆ ต่ำๆ มีความสูงเฉลี่ยประมาณ ๘๐๐ เมตร และลาดไปทางทิศตะวันออกลงสู่ทะเลสาบสงขลา ในอัตราความลาดชัน ๒๕-๓๐ เปอร์เซ็นต์ เทือกเขานี้เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขานครศรีธรรมราช เรียกกันโดยทั่วไปในท้องถิ่นว่า เขาบรรทัด ประกอบด้วยภูเขาที่สำคัญ ได้แก่ เขาเขียว เขาคลองโลน เขานกรำ เขาช่องกระจก เขาเจ็ดยอด เขายางแตก และเขาหินแท่น ยอดเขาสูงสุด คือ เขาลูกหลัก เขาร้อน ซึ่งสูงถึง ๑.๓๒๒ เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง ตั้งอยู่ในเขตกึ่งอำเภอศรีนครินทร์ ส่วนคลองสายสำคัญ ได้แก่ คลองพรุพ้อ คลองป่าบอน คลองป่าพะยอม เป็นต้น อนึ่ง พื้นที่ภูเขานี้มีเนื้อที่รวมกันประมาณ ๘๓๕.๙๐ ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ ๒๔.๔๑ ของพื้นที่ทั้งหมด อยู่ในเขตพื้นที่บางส่วนของอำเภอป่าบอน ตะโหมด กงหรา ศรีนครินทร์ ศรีบรรพต และป่าพะยอม ป่า ป่า : พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน เป็นส่วนที่อยู่ถัดจากภูเขาบรรทัด หรือพื้นที่เชิงเขา ลักษณะภูมิประเทศเป็นเนินเตี้ยๆ ที่เรียกกันโดยทั่วไปในท้องถิ่นว่า ควน สลับด้วยที่ราบที่มีความลาดชันประมาณ ๕-๑๐ เปอร์เซ็นต์ ความสูงโดยเฉลี่ยประมาณ ๑๕๐ เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง มีเนื้อที่ประมาณ ๕๓๙.๗๐ ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ ๑๕.๗๖ ของพื้นที่ทั้งหมด อยู่ในเขตอำเภอป่าบอน ตะโหมด ศรีนครินทร์ กงหรา ศรีบรรพต และป่าพะยอม นา นา: พื้นที่ราบ ในเขตจังหวัดพัทลุง มีเนื้อที่รวมกันประมาณ ๑,๔๘๕.๕๔ ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ ๔๓.๓๘ ของพื้นที่ทั้งหมด ลักษณะพื้นที่ราบ มีเนินเขาปะปนอยู่ด้วย เนื่องจากอยู่ติดกับพื้นที่ภูเขา ความลาดชันประมาณ ๒-๕ เปอร์เซ็นต์ ความสูงเฉลี่ยประมาณ ๖ เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง และเนื่องจากเป็นที่ที่เหมาะแก่การกสิกรรม ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดจึงนิยมตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้ ซึ่งอยู่ในเขตอำเภอป่าพะยอม ควนขนุน เมืองพัทลุง เขาชัยสน บางแก้ว และปากพะยูน เล เล: พื้นที่เกาะ พื้นที่เกาะในบริเวณทะเลสาบสงขลาในเขตจังหวัดพัทลุง ได้แก่ เกาะราบ เกาะปราบ เกาะกระ เกาะหมาก เกาะเสือ เกาะโคบ เกาะทำเหียก เกาะแพ เกาะนางคำ เกะแกง เกาะยวน ตลอดจนเกาะต่างๆ ทั้งใหญ่-เล็ก ในหมู่เกาะสี่เกาะห้า อันประกอบด้วย เกาะยายโส เกาะตาโส เกาะป้อย เกาะกันตัง เกาะเข็ม เกาะหน้าเทวดา เกาะรูสิม เกาะท้ายถ้ำดำ เกาะรอก และเกาะร้านไก่ ปัจจุบันเกาะเหล่านี้ตั้งอยู่ในเขตอำเภอปากพะยูน มีเนื้อที่รวมกันประมาณ ๒๑๙.๑๗ ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ ๖.๔๐ ของพื้นที่ ทั้งหมด ส่วนใหญ่เป็นเขตพื้นที่ที่มีการตั้งถิ่นฐานของประชากร ได้แก่ เกาะราบ เกาะหมาก เกาะเสือ เกาะโคบ เกาะนางคำ เกาะแกง และเกาะยวน ส่วนพื้นที่เกาะที่เป็นถิ่นที่อยู่ของนกแอ่นกินรังมีเนื้อที่รวมกันประมาณ ๗๐๐ ไร่ หรือ ๑.๑๒ ตารางกิโลเมตร อำเภอศรีนครินทร์ Amphoe Srinagarindra ถนนเพชรเกษมในตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ ถนนเพชรเกษมในตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ คำขวัญ: ศรีนครินทร์ ถิ่นยางพารา งามตาน้ำตก มรดกถ้ำสวย หลากด้วยไม้ผล น่ายลเขาหลัก แผนที่จังหวัดพัทลุง เน้นอำเภอศรีนครินทร์ แผนที่จังหวัดพัทลุง เน้นอำเภอศรีนครินทร์ ที่ตั้งที่ว่าการ ที่ว่าการอำเภอศรีนครินทร์ หมู่ที่ 10 ถนนเพชรเกษม ตำบลชุมพล อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง 93000 ที่ตั้งและอาณาเขต อำเภอศรีนครินทร์ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอศรีบรรพตและอำเภอควนขนุน ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอเมืองพัทลุง ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอกงหรา ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอย่านตาขาวและอำเภอนาโยง (จังหวัดตรัง) สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง ติดต่อเรา สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอศรีนครินทร์ Community Development Office, Srinakarin ชั้น 2 ที่ว่าการอำเภอศรีนครินทร์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง 93000 2nd Floor, Srinakarin District Office Srinakarin District Phatthalung Province 93000 โทรศัพท์ : 074 605714 โทรสาร : 074 605714 อีเมล์ : [email protected] ประวัติ ท้องที่อำเภอศรีนครินทร์เดิมเป็นส่วนหนึ่งของอำเภอเมืองพัทลุง ทางราชการได้แบ่งพื้นที่การปกครองออกมาตั้งเป็น กิ่งอำเภอชุมพล ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2539 โดยมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 15 กรกฎาคม ปีเดียวกัน จนกระทั่งเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม ปีเดียวกัน ได้เปลี่ยนชื่อเป็น กิ่งอำเภอศรีนครินทร์ ต่อมาในวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550 จึงมีพระราชกฤษฎีกายกฐานะขึ้นเป็น อำเภอศรีนครินทร์ โดยให้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 กันยายน ปีเดียวกัน ชุมชนท่องเที่ยวบ้านขาม ประวัติความเป็นมา (ตำนาน) อีกตำนานเป็นชุมชนเล็กๆ ที่มีเรื่องราวของสายน้ำและต้นมะขามตั้งอยู่ โดยในอดีตมีการใช้ชีวิตทั้งสองฝั่งคลอง และฝั่งคลองทางตะวันตกเกิดโรงอหิวาตกโรค จากนั้นก็เหลืออยู่แต่ผู้อยู่อาศัยฝั่งตะวันออก และในอดีตการลักขโมยกันมาก แต่ในพื้นที่บ้านขามไม่มีการลักขโมย เพราะมีแต่คนเกรงขามในอดีตการเดินทางใช้เรือเป็นหลัก และมีท่าเรือ ซึ่งปัจจุบันเป็นที่ตั้งสายน้ำมี ชีวิตวัฒนธรรมประเพณีชุมชน ประเพณีทำบุญสายน้ำนำเด็กแรกเกิดลงคลอง ปิ่นโตข้ามคลอง การหุงข้าวกับกระบอกไม้ไผ่ธรรมชาติที่ดีของชุมชน สายน้ำมีชีวิต (ท่าเรือเก่า) จุดส่องนกที่หาได้ยาก มีนกมากกว่า 100 ชนิด แหล่งพืชพันธ์ทางการเกษตรที่หลากหลาย ผลิตภัณฑ์เด่นของชุมชน 1. เครื่องแกงทวีบ้านขาม 2. ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ 3. เรซิ่นดอกไม้ 4. น้ำผึ้งเดือนห้า 5. กล้วยฉาบ 6. ขนมเดือนสิบ 7. ข้าวเหนียวหลาม 8. ไตปลาแห้ง 9. ดอกไม้กินได้ 10. แยมมะเดือ อาหารพื้นถิ่น 1. แกงส้มผักสมรม 2. แกงหอยโล่ 3. แกงไตปลา 4. ยำผักกูด 5. น้ำพริกผัก กิจกรรม ทดสอบโปรแกรมการท่องเที่ยว วันอังคารที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๗ ณ บ้านชาม หมู่ที่ ๗ ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีมคริมครินทร์ จังหวัดพัทลุง กิจกรรม - นักท่องเที่ยวออกเดินทางโดยรถตู้ ณ บริเวณด้านหน้าศาลากลางจังหวัดพัทลุง - เยี่ยมชมสวนผลไม้และพืชประจำถิ่น ณ ศูนย์การเรียนรู้ฯ นายสงบ บัวแสง - เยี่ยมชมการเลี้ยงผึ้งในสวนผลไม้ ณ สวนนายบรรจบ นวลขลิบ - เยี่ยมชมแปลงผักปลอดสารเคมี ณ สวนนายไข่ นวลขลิบ - ชมธรรมชาติสายน้ำมีชีวิตบ้านขาม - กิจกรรมเรียนรู้การเห็นสีในจานไม้ไผ่ ณ ท่าน้ำสายน้ำมีชีวิตบ้านยาม - รับประทานอาหารกลางวันจากเมนูอาหารพื้นถิ่น - Work shop กิจกรรม ๕ ฐานการเรียนรู้ ณ ฐานเรียนรู้ชุมชนฯสวนเกสร - ทำข้าวหลาม ทำน้ำอัญชัญมะนาว น้ำผึ้งรวง - ทำกล้วยฉาบ - ทำแกงไตปลาแห้ง เรียนรู้การทำผลิตภัณฑ์ดอกไม้ เครือบเรชิน อาหารถิ่น อาหารพื้นถิ่นของกินพื้นบ้าน อาหารพื้นเมืองภาคใต้ มีรสชาติโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ จึงมีรสชาติจัดเน้นเครื่องเทศ ด้วยสภาพอากาศร้อนชื้น ฝนตกตลอดปี อาหารประเภทแกงและเครื่องจิ้มจึงมีรสจัด ช่วยให้ร่างกายอบอุ่น ป้องกันการเจ็บป่วยได้ถูกเชื่อมโยงการบริโรคโดยวัฒนธรรม ความยากง่ายในการเสาะหาอาหารในฤดูกาล และปัจจัยทางสถานการณ์ ภูมิประเทศ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ความชอบ ความเชื่อ คุณค่าอาหารและการปรุงแต่ง และมีผักสารพัดชนิดที่เรียกว่า "ผักเหนาะ" ซึ่งเป็นพืชพื้นบ้านหาได้ในท้องถิ่นภาคใต้ เช่น ลูกเนียง ลูกเหนียง สะตอ ยอดกระถิน มากินร่วมด้วย เพื่อบรรเทารสเผ็ดของอาหาร ทั้งมีสรรพคุณเป็นยาอีกด้วย ของกินเล่น หรือขนมหวาน ก็มีมานานในตำรา ความหลากหลายในแต่ละพื้นที่มีไม่เหมือนกัน อย่างที่บ้านช่องฟืนขอย้ำว่า หร่อยสุดแรง

ท่องเที่ยว เรียนรู้ ดูงาน สร้างสรรค์สังคมเที่ยวไทยอบอุ่นใจ ไปกับ  ร่ ว ม บั น ทึ ก ก า ร เ ดิ น ท า ง วั น ดี  ๆ กั บ ฐิ...
12/12/2024

ท่องเที่ยว เรียนรู้ ดูงาน สร้างสรรค์สังคม
เที่ยวไทยอบอุ่นใจ ไปกับ
ร่ ว ม บั น ทึ ก ก า ร เ ดิ น ท า ง วั น ดี ๆ กั บ ฐิ ติ ท ร า เ ว ล
License number 42/00414
โทร. 0944599891, 0994096637

8.ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านช่องฟืน
ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านช่องฟืน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประวัติความเป็นมา (ตำนาน) ชุมชนบ้านช่องฟืน เป็นชุมชนฝั่งทะเลสาบสงขลา อาชีพหลักคืออาชีพประมง อดีตทำนาที่เกาะราบ มีอาชีพทำไม้ฟืนขายไปที่คาบสมุทรสทิงพระในฝั่งของตำบลคูขุด อาชีพหมกปูนหรือเผาปูน ปัจจุบันมีการทำประมง ทำสวนยาง สวนปาล์ม สะตอลูกเนียง วัฒนธรรมประเพณีชุมชน การทำบุญ 2 ศาสนา คือไทยพุทธและอิสลาม ทำบุญบ่อน้ำศักดิ์สิทธิ์ (บ่อทวด) ธรรมชาติที่ดีวิถีชุมชน ทะเลที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยอาหารทะเลมากมาย แหล่งท่องเที่ยวมี เกาะกระ เกาะสี่ เกาะห้า เกาะราบ อ่าวท่ายาง มีเขตอนุรักษ์ชุมชนที่มีทรัพยากร วิถีประมงที่เรียบ

ท่องเที่ยว เรียนรู้ ดูงาน สร้างสรรค์สังคมเที่ยวไทยอบอุ่นใจ ไปกับ  ร่ ว ม บั น ทึ ก ก า ร เ ดิ น ท า ง วั น ดี  ๆ กั บ ฐิ...
12/12/2024

ท่องเที่ยว เรียนรู้ ดูงาน สร้างสรรค์สังคม
เที่ยวไทยอบอุ่นใจ ไปกับ
ร่ ว ม บั น ทึ ก ก า ร เ ดิ น ท า ง วั น ดี ๆ กั บ ฐิ ติ ท ร า เ ว ล
License number 42/00414
โทร. 0944599891, 0994096637

7.ท่องเที่ยวชุมชนOtopนวัตวิถี บ้านท่าช้าง
ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านท่าช้าง หมู่ที่ ๕ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ชื่อผู้ประสานงานชุมชนท่องเที่ยว/หมายเลขโทรศัพท์ โทร. มาลี พันธ์วงศ์ 061 292 6393 จังหวัดพัทลุง คำขวัญประจำจังหวัด "เมืองหนังโนรา อู่นาข้าว พราวน้ำตก แหล่งนกน้ำ ทะเลสาบงาม เขาอกทะลุ น้ำพุร้อน" ภูเขาอกทะลุ สมัยโบราณผู้ที่เดินทางเรือในทะเลสาบสงขลา จะมองเห็นภูเขาอกทะลุเป็นที่หมายของเมืองพัทลุง ดังนั้นภูเขาอกทะลุจึงเป็นเอกลักษณ์ ในปัจจุบันชาวพัทลุงมีความเชื่อว่าเป็นภูเขาศักดิ์สิทธิ์เปรียบเสมือนหลักเมืองพัทลุง ทางจังหวัดจึงได้นำรูปภูเขาอกทะลุไปใช้เป็นตราประจำจังหวัด ที่มีความสำคัญเพราะทำหน้าที่เป็นเหมือน Landmark ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง และไม่ว่าจะมองจากจุดใดๆ ที่ห่างไกลออกไป ตั้งตฺระหฺง่านสูงโดดเด่น เห็นได้ชัด จังหวัดพัทลุงโดยสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพัทลุง ได้จัดทำโครงการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติ ด้วยแนวคิดการจัดกิจกรรมส่งเสริมเรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติ ค้นหาผู้จัดโปรแกรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์เด่น โดยพิจารณาข้อมูลการพัฒนา และความพร้อมของชุมชนในด้านต่างๆ เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยว การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารชุมชนท่องเที่ยว ผู้ประกอบการชุมชน ผู้จัดโปรแกรมท่องเที่ยว ด้วยแนวคิดการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติ ให้มีความพร้อมในการสร้างอัตลักษณ์เฉพาะของหมู่บ้าน ชุมชน ทั้งในด้านผลิตภัณฑ์ชุมชน สินค้าOTOP ของฝากของที่ระลึก สถานที่ท่องเที่ยว ประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมถึงการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ชุมชนท่องเที่ยวให้เป็น ที่รู้จักในวงกว้าง การขับเคลื่อนโครงการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรมของจังหวัดพัทลุง ได้รับการพัฒนายกระดับการท่องเที่ยว โดยใช้กระบวนการขับเคลื่อนงานด้านการท่องเที่ยวมาเป็นเครื่องมือ ในการพัฒนาชุมชนเพื่อให้เกิดรายได้ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน กิจกรรมส่งเสริม ส่งเสริมการเรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติ โดยออกแบบและจัดทำเอกสารแนะนำโปรแกรมการท่องเที่ยว พื้นที่เป้าหมาย 9 ชุมชน ในจังหวัดพัทลุง เพื่อสนับสนุนการจัดทำโปรแกรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และรูปแบบกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติ และประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวชุมชนผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติในโปรแกรมการท่องเที่ยว เขา เขา : พื้นที่ภูเขา เป็นส่วนสำคัญของจังหวัดพัทลุง เนื่องจากเป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร ที่ส่งน้ำหล่อเลี้ยงพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัด มีลักษณะเป็นเทือกเขาที่มียอดสูง ๆ ต่ำๆ มีความสูงเฉลี่ยประมาณ ๘๐๐ เมตร และลาดไปทางทิศตะวันออกลงสู่ทะเลสาบสงขลา ในอัตราความลาดชัน ๒๕-๓๐ เปอร์เซ็นต์ เทือกเขานี้เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขานครศรีธรรมราช เรียกกันโดยทั่วไปในท้องถิ่นว่า เขาบรรทัด ประกอบด้วยภูเขาที่สำคัญ ได้แก่ เขาเขียว เขาคลองโลน เขานกรำ เขาช่องกระจก เขาเจ็ดยอด เขายางแตก และเขาหินแท่น ยอดเขาสูงสุด คือ เขาลูกหลัก เขาร้อน ซึ่งสูงถึง ๑.๓๒๒ เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง ตั้งอยู่ในเขตกึ่งอำเภอศรีนครินทร์ ส่วนคลองสายสำคัญ ได้แก่ คลองพรุพ้อ คลองป่าบอน คลองป่าพะยอม เป็นต้น อนึ่ง พื้นที่ภูเขานี้มีเนื้อที่รวมกันประมาณ ๘๓๕.๙๐ ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ ๒๔.๔๑ ของพื้นที่ทั้งหมด อยู่ในเขตพื้นที่บางส่วนของอำเภอป่าบอน ตะโหมด กงหรา ศรีนครินทร์ ศรีบรรพต และป่าพะยอม ป่า ป่า : พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน เป็นส่วนที่อยู่ถัดจากภูเขาบรรทัด หรือพื้นที่เชิงเขา ลักษณะภูมิประเทศเป็นเนินเตี้ยๆ ที่เรียกกันโดยทั่วไปในท้องถิ่นว่า ควน สลับด้วยที่ราบที่มีความลาดชันประมาณ ๕-๑๐ เปอร์เซ็นต์ ความสูงโดยเฉลี่ยประมาณ ๑๕๐ เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง มีเนื้อที่ประมาณ ๕๓๙.๗๐ ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ ๑๕.๗๖ ของพื้นที่ทั้งหมด อยู่ในเขตอำเภอป่าบอน ตะโหมด ศรีนครินทร์ กงหรา ศรีบรรพต และป่าพะยอม นา นา: พื้นที่ราบ ในเขตจังหวัดพัทลุง มีเนื้อที่รวมกันประมาณ ๑,๔๘๕.๕๔ ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ ๔๓.๓๘ ของพื้นที่ทั้งหมด ลักษณะพื้นที่ราบ มีเนินเขาปะปนอยู่ด้วย เนื่องจากอยู่ติดกับพื้นที่ภูเขา ความลาดชันประมาณ ๒-๕ เปอร์เซ็นต์ ความสูงเฉลี่ยประมาณ ๖ เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง และเนื่องจากเป็นที่ที่เหมาะแก่การกสิกรรม ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดจึงนิยมตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้ ซึ่งอยู่ในเขตอำเภอป่าพะยอม ควนขนุน เมืองพัทลุง เขาชัยสน บางแก้ว และปากพะยูน เล เล: พื้นที่เกาะ พื้นที่เกาะในบริเวณทะเลสาบสงขลาในเขตจังหวัดพัทลุง ได้แก่ เกาะราบ เกาะปราบ เกาะกระ เกาะหมาก เกาะเสือ เกาะโคบ เกาะทำเหียก เกาะแพ เกาะนางคำ เกะแกง เกาะยวน ตลอดจนเกาะต่างๆ ทั้งใหญ่-เล็ก ในหมู่เกาะสี่เกาะห้า อันประกอบด้วย เกาะยายโส เกาะตาโส เกาะป้อย เกาะกันตัง เกาะเข็ม เกาะหน้าเทวดา เกาะรูสิม เกาะท้ายถ้ำดำ เกาะรอก และเกาะร้านไก่ ปัจจุบันเกาะเหล่านี้ตั้งอยู่ในเขตอำเภอปากพะยูน มีเนื้อที่รวมกันประมาณ ๒๑๙.๑๗ ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ ๖.๔๐ ของพื้นที่ ทั้งหมด ส่วนใหญ่เป็นเขตพื้นที่ที่มีการตั้งถิ่นฐานของประชากร ได้แก่ เกาะราบ เกาะหมาก เกาะเสือ เกาะโคบ เกาะนางคำ เกาะแกง และเกาะยวน ส่วนพื้นที่เกาะที่เป็นถิ่นที่อยู่ของนกแอ่นกินรังมีเนื้อที่รวมกันประมาณ ๗๐๐ ไร่ หรือ ๑.๑๒ ตารางกิโลเมตร อำเภอควนขนุน คำขวัญ: ถิ่นพระดังเมืองคนดี ประเพณีลือเลื่อง เฟื่องฟูการศึกษา ผ้าทอแพรกหา ทะเลงามตา นกน้ำเพลินใจ ประวัติ จากคำบอกเล่าของผู้รู้ในตำบล ตำบลควนขนุนเป็นตำบลเก่าแก่มาแต่ดั้งเดิม ไม่ปรากฏว่าย้ายมาจากที่ใดและไม่ปรากฏปีที่จัดตั้ง สำหรับชื่อที่เรียกตำบลควนขนุนเดิมบริเวณนี้มีต้นขนุนอยู่ 1 ต้น วันหนึ่งมีพระภิกษุเดินผ่านมาได้กลิ่นหอมของขนุนสุก แต่เมื่อมองหาผลบนต้นกลับไม่พบทั้งที่ยังมีกลิ่นหอมอยู่เหมือนเดิม จึงลองช่วยกันขุดใต้ดินบริเวณต้นขนุน พบขนุนมีลักษณะผิวสีทองจึงได้ช่วยกันนำขึ้นมาและไปถวายเจ้าเมือง เจ้าเมืองประทับใจมากที่มีของแปลกประหลาดจึงได้ประทานรางวัลฆ้อง 2 ลูก เป็นฆ้องเงินและฆ้องทอง และประทานชื่อว่า "บ้านควนขนุน" อำเภอควนขนุนเดิมเรียกว่า อำเภออุดร จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2439 หรือ ร.ศ. 115 มีพระพลสงคราม (โต ศิริธร) เป็นนายอำเภอคนแรก ต่อมาภายหลังเป็นพระยาศิริธรเทพสัมพันธ์ เจ้ากรมเสมียนตรา อำเภอตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 5 ตำบลควนขนุน และได้ย้ายที่ตั้งอีกจำนวน 4 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2445 ย้ายที่ว่าการอำเภอไปตั้งที่บ้านมะกอกใต้ เรียกว่า อำเภอปากประ ครั้งที่ 2 เมื่อปี พ.ศ. 2450 ย้ายไปที่บ้านพนางตุง ริมทะเลน้อย เรียก อำเภอทะเลน้อย ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2460 เรียก อำเภอพนางตุง และครั้งสุดท้าย เมื่อปี พ.ศ. 2466 ย้ายกลับมาตั้งที่เดิมคือที่บ้านควนขนุน เรียกว่า อำเภอควนขนุน มาจนถึงปัจจุบัน สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอควนขนุนที่ว่าการอำเภอควนขนุนตำบล ควนขนุน อำเภอ ควนขนุน พัทลุง 93110 โทรศัพท์ : 074-682000, โทรสาร : อีเมล์ : [email protected] ชุมชนท่องเที่ยว Otopนวัตวิถี บ้านท่าช้าง ต.พนางตุง อ.ควนขนุน จ.พัทลุง หมู่บ้านต้นคิด ชีวิตต้นแบบ วิถีชีวิตที่เรียบง่าย หมู่บ้านแห่งการเรียนรู้กับประสบการณ์ด้านการเกษตรที่ร่วมสมัย การท่องเที่ยววิถีนา แหล่งท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์ที่เปิดให้นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้วิธีการทำนา เครื่องมืออุปกรณ์การทำนาที่เก็บรักษา พร้อมเปิดให้ชมในพิพิธภัณฑ์ บรรยากาศของจุดชมวิวปากประ Unseen ถิ่นใต้ หลากหลายวิถีชีวิตบนสายน้ำ ที่เต็มไปด้วยมนต์เสน่ห์แห่งความประทับใจ ที่จะทำให้ทุกคนได้เปิดมุมมองใหม่แห่งการท่องเที่ยวอย่างแท้จริง ลองมาเยือนบ้านท่าช้างสักครั้ง ก็อดไม่ได้ที่จะหลงชื่นชมวิถีชีวิตที่แสนเรียบง่ายและหาไม่ได้จากที่ใด เพราะสถานที่ในหมู่บ้านแห่งนี้ ช่างสดใส ล้วนมีเสน่ห์น่าดึงดูดใจอยู่ไม่น้อย ต้องลองแวะไปจะทำให้คุณตกหลุมรักอย่างไม่รู้ตัว บ้านท่าช้าง ประวัติความเป็นมา (ตำนาน) ช้างแคระหรือว่าช้างแกรบเป็นช้างสายพันธ์เอเชียขนาดเล็ก สูญหายไปจากพื้นที่ชุ่มน้ำทะเลน้อย เมื่อกว่าเจ็ดสิบห้าปีก่อนด้วยสภาพร่างกายที่ต้องปรับตัว ให้เข้ากับภูมิประเทศที่อยู่อาศัยจึงมีตัวเล็กกว่าช้างปกติ ทุกวันนี้ยังมีหลักฐานในเชิงประจักษ์ที่ยืนยันได้ว่าครั้งหนึ่งสัตว์ชนิดนี้ได้อาศัยอยู่ในพื้นที่รอยต่อจังหวัดสงขลา พัทลุงและนครศรีธรรมราช ซึ่งมีงาขนาดเล็ก เพียง 3.4 เซนติเมตร และเส้นรอบวงเพียง 12เซนติเมตร รวมถึงกรามช้างหรือฟันช้างที่มีขนาดไม่ใหญ่มากถูกระบุว่าเป็นชิ้นส่วนของช้างแคระหรือช้างแกรบ ซึ่งนักอนุรักษ์ของโบราณแห่งคาบสมุทรสทิงพระและยังเป็นสมาชิกสภาเทศบาลตำบลระโนด จังหวัดสงขลา ได้เก็บไว้เป็นอย่างดีพร้อมบอกเล่าว่าเป็นงาช้างแคระ ซึ่งได้มาจากในพื้นที่บ้านหัวป่า ตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา โดยงามี ลักษณะงอน และบ่งบอกว่าเป็นช้างแคระตัวผู้ ซึ่งมีอายุมากแล้ว ถ้าตัวเมียมีลักษณะตรงเท่าแท่งดินสอ อาหารช้างแคระมีต้นโพธิ์และพืชตระกูลหญ้า อีกหลายชนิดซึ่งกระจายตัวรอบป่าพรุ ล้วนเป็นอาหารของช้างแคระ ช่วงหลังการขยายตัวของประชากรในพื้นที่และการทำนาทับซ้อนกับแหล่งอาหาร ของช้างแคระ จึงไม่มีอาหารก่อนที่สูญหายไปจากบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำทะเลน้อยเมื่อเจ็ดสิบห้าปีที่แล้ว ตอนนี้กระดูกช้างแคระอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ระโนด บ้านท่าช้างจึงมีตำนานว่า พบเจอเห็นช้าง ภาษาท้องถิ่นคือคำว่า ท่า เป็นที่มา ท่าช้าง ช่วงน้ำท่วมช้างหนีไปขึ้นควนไปทางอ้ายพลาย ทางช้างไปเขาเมือง ชุมชนบ้านท่าช้างเป็นชุมชนสมัยก่อนมีฝูงช้าง มีช้างแคระมีช้างขึ้นมาจากป่าพรุตอนน้ำท่วม ในหมู่บ้านเป็นทางผ่านของฝูงช้าง ก็เลยเกิดเป็นชื่อหมู่บ้านท่าช้าง หมู่บ้านต้นคิด ชีวิตต้นแบบ มาตักตวงความสุขเล็กๆ จากวิถีชีวิตที่เรียบง่ายกันที่ “หมู่บ้านท่าช้าง” หมู่บ้านแห่งการเรียนรู้กับประสบการณ์ด้านการเกษตรที่แปลกใหม่ การท่องเที่ยววิถีนา แหล่งท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์ที่เปิดให้นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้วิธีการทำนา พร้อมชมพิพิธภัณฑ์ วัฒนธรรมประเพณีชุมชน ทำขวัญข้าวเดือนสิบ เวียนเทียนเข้าพรรษา สงกรานต์รดน้ำดำหัว ชักพระ ธรรมชาติที่ดีของชุมชน คลองปากประ ทะเลน้อย ป่าสาคู ป่าพรุ ทุ่งชัยรอง แปลงกระจูด การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและโครงการนักท่องเที่ยวเชิงปฏิบัติ ซึ่งเป็นโครงการที่มุ่งเน้นการส่งเสริมการท่องเที่ยวในชุมชนผ่านการนำเสนอวัฒนธรรมและวิถีชีวิตท้องถิ่น กิจกรรมที่น่าสนใจประกอบด้วย 1. การทำข้าวสีข้าวโบราณ กิจกรรมที่มีการสาธิตและสอนวิธีการทำข้าวโดยใช้ข้าวโบราณ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชุมชน เป็นการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีมาแต่โบราณ 2. การทำสากกะจูด เป็นการแสดงฝีมือการทำสาก (หรือครกเล็กๆ) ที่ใช้ในครัวเรือน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องใช้ในครัวแบบดั้งเดิมของชาวบ้านท่าช้างพนางตุง 3. การทำขนมคุณทีและขนมพื้นบ้านอื่นๆ สาธิตการทำขนมท้องถิ่น เช่น ขนมคุณที ซึ่งเป็นขนมที่ทำจากวัตถุดิบธรรมชาติและเป็นที่นิยมในชุมชน 4. การทำแป้งสาคู: กิจกรรมสาธิตการทำแป้งสาคู ซึ่งเป็นอีกหนึ่งภูมิปัญญาท้องถิ่นที่แสดงถึงความเชี่ยวชาญในเรื่องการแปรรูปอาหารจากวัตถุดิบในท้องถิ่น 5. การเยี่ยมชมผลิตภัณฑ์ชุมชนการลงพื้นที่ครั้งนี้ยังได้มีการเยี่ยมชมและนำเสนอผลิตภัณฑ์ชุมชนที่หลากหลาย เช่น ผงชงกล้วย แป้งข้าวสังข์หยด ยาหม่อง และสบู่นำเข้า ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่แสดงถึงความสามารถและความคิดสร้างสรรค์ของชุมชนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากวัตถุดิบในท้องถิ่น ข้าวสังข์หยด ข้าวพื้นเมืองที่เป็นเอกลักษณ์ของชาวจังหวัดพัทลุง และซึมซับบรรยากาศของจุดชมวิวปากประ Unseen ถิ่นแดนใต้ พร้อมสัมผัสวิถีชีวิตบนสายน้ำ ที่เต็มไปด้วยเสน่ห์สุดประทับใจ ที่จะทำให้ทุกคนได้เปิดมุมมองใหม่แห่งการท่องเที่ยวอย่างแท้จริง มาเยือนบ้านท่าช้างครั้งใด ก็อดไม่ได้ที่จะหลงชื่นชมวิถีชีวิตที่แสนเรียบง่ายและหาไม่ได้จากที่ไหน เพราะทุกสถานที่ในหมู่บ้านแห่งนี้ ล้วนมีเสน่ห์น่าดึงดูดใจอยู่ไม่น้อยต้องลองแวะไปเยี่ยมชมความสงบเรียบง่ายของบ้านท่าช้างดูสักครั้ง จะทำให้คุณต้องตกหลุมรักอย่างไม่รู้ตัว พื้นที่ชุมน้ำทะเลน้อยต่อมรดกทางการเกษตรของโลก (GIAHS) ชุมชนบ้านท่าช้าง จ.พัทลุง การรวมตัวกันของชาวบ้าน ที่นำการท่องเที่ยวแบบวิถีชีวิตมาเป็นจุดเด่นให้กับการท่องเที่ยว รวมถึงผลิตภัณฑ์ กระจูด, ผ้าขาวม้า และผ้ามัดย้อม กลายเป็นสินค้าที่สร้างรายได้ให้กับชุมชนเป็นกอบเป็นกำ โปรแกรมการท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม ส่งเสริมการเรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติกิจกรรมสินค้าผลิตภัณฑ์ ณ บ้านท่าช้าง หมู่ที่ ๕ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง - นักท่องเที่ยวออกเดิมทางโดยรถตู้ ณ บริเวณต้านหน้าตาลากลางจังหวัดพัทพัทพัทลุง - เรียนรู้การทำผลิตภัณฑ์ชุมชน ประกอบด้วย - ผ้ามัดย้อม - สีข้าวโบราณ - จักสานกระจูด (กระสอบหมาก) - การทำขนมคุณที - รับประทานอาหารกลางวัน - ท่องเที่ยวกลุ่มแป้งสาค - เยี่ยมชมกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน ประกอบด้วย - กลุ่มผงชงกล้วย - กลุ่มแป้งข้าวสังข์หยด - กลุ่มยาหม่อง - กลุ่มสบู่รำข้าว - กลุ่มข้าวสังหยด GI ท่องเที่ยวสุขภาพชุมชนวิถีนาเมืองลุง กลุ่มวิสาหกิจชุมชนท่าช้างฟื้นฟูเศรษฐกิจ 36 หมู่ที่ 5 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง กลุ่มวิสาหกิจชุมชนท่าช้างฟื้นฟูเศรษฐกิจ 36 หมู่ที่ 5 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ผลิตภัณฑ์เด่นของชุมชน 1.ข้าวสังหยด GI 2.แป้งสาคู 3.ผลิตภัณฑ์กระจูด 4.ผ้ามัดย้อม 5.ขนมคุณที 6.น้ำสมุนไพร 7.สบู่รำข้าว 8.แป้งข้าวสังข์หยด 9.ผงชงกล้วย 10.ยาหม่อง อาหารถิ่น อาหารพื้นถิ่นของกินพื้นบ้าน อาหารพื้นเมืองภาคใต้ มีรสชาติโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ จึงมีรสชาติจัดเน้นเครื่องเทศ ด้วยสภาพอากาศร้อนชื้น ฝนตกตลอดปี อาหารประเภทแกงและเครื่องจิ้มจึงมีรสจัด ช่วยให้ร่างกายอบอุ่น ป้องกันการเจ็บป่วยได้ถูกเชื่อมโยงการบริโรคโดยวัฒนธรรม ความยากง่ายในการเสาะหาอาหารในฤดูกาล และปัจจัยทางสถานการณ์ ภูมิประเทศ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ความชอบ ความเชื่อ คุณค่าอาหารและการปรุงแต่ง และมีผักสารพัดชนิดที่เรียกว่า "ผักเหนาะ" ซึ่งเป็นพืชพื้นบ้านหาได้ในท้องถิ่นภาคใต้ เช่น ลูกเนียง ลูกเหนียง สะตอ ยอดกระถิน มากินร่วมด้วย เพื่อบรรเทารสเผ็ดของอาหาร ทั้งมีสรรพคุณเป็นยาอีกด้วย ของกินเล่น หรือขนมหวาน ก็มีมานานในตำรา ความหลากหลายในแต่ละพื้นที่มีไม่เหมือนกัน อย่างที่บ้านท่าช้าง ขอย้ำว่า หร่อยสุดแรง แกงส้มผักรวม แกงเลียง ปลาทอด ปลาดุกร้า น้ำสมุนไพร ไข่ปลาทอด

ท่องเที่ยว เรียนรู้ ดูงาน สร้างสรรค์สังคมเที่ยวไทยอบอุ่นใจ ไปกับ  ร่ ว ม บั น ทึ ก ก า ร เ ดิ น ท า ง วั น ดี  ๆ กั บ ฐิ...
12/12/2024

ท่องเที่ยว เรียนรู้ ดูงาน สร้างสรรค์สังคม
เที่ยวไทยอบอุ่นใจ ไปกับ
ร่ ว ม บั น ทึ ก ก า ร เ ดิ น ท า ง วั น ดี ๆ กั บ ฐิ ติ ท ร า เ ว ล
License number 42/00414
โทร. 0944599891, 0994096637

6.ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านตะโหมด
ชุมชนท่องเที่ยวOTOPนวัตวิถี บ้านตะโหมด "เยื่อนถิ่นตะโหมด นาโหนดทิวทัศน์ วัดพัฒนา ศูนย์รวมใจสองศาสนา ควนตาคมงามตา หนองแม่ใหญ่ล้ำค่า โคกหม้อหนองนาโมเดล" หมู่ที่ ๓ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทถุง ติดต่อประสานงาน ภัคนันท์ ชนะสิทธิ์ 093 561 3165 ทวีเกียรติ คุ่มเคี่ยม (ผญ.) .089-658 0837 จังหวัดพัทลุง คำขวัญประจำจังหวัด "เมืองหนังโนรา อู่นาข้าว พราวน้ำตก แหล่งนกน้ำ ทะเลสาบงาม เขาอกทะลุ น้ำพุร้อน" ภูเขาอกทะลุ สมัยโบราณผู้ที่เดินทางเรือในทะเลสาบสงขลา จะมองเห็นภูเขาอกทะลุเป็นที่หมายของเมืองพัทลุง ดังนั้นภูเขาอกทะลุจึงเป็นเอกลักษณ์ ในปัจจุบันชาวพัทลุงมีความเชื่อว่าเป็นภูเขาศักดิ์สิทธิ์เปรียบเสมือนหลักเมืองพัทลุง ทางจังหวัดจึงได้นำรูปภูเขาอกทะลุไปใช้เป็นตราประจำจังหวัด ที่มีความสำคัญเพราะทำหน้าที่เป็นเหมือน Landmark ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง และไม่ว่าจะมองจากจุดใดๆ ที่ห่างไกลออกไป ตั้งตฺระหฺง่านสูงโดดเด่น เห็นได้ชัด จังหวัดพัทลุงโดยสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพัทลุง ได้จัดทำโครงการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติ ด้วยแนวคิดการจัดกิจกรรมส่งเสริมเรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติ ค้นหาผู้จัดโปรแกรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์เด่น โดยพิจารณาข้อมูลการพัฒนา และความพร้อมของชุมชนในด้านต่างๆ เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยว การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารชุมชนท่องเที่ยว ผู้ประกอบการชุมชน ผู้จัดโปรแกรมท่องเที่ยว ด้วยแนวคิดการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติ ให้มีความพร้อมในการสร้างอัตลักษณ์เฉพาะของหมู่บ้าน ชุมชน ทั้งในด้านผลิตภัณฑ์ชุมชน สินค้าOTOP ของฝากของที่ระลึก สถานที่ท่องเที่ยว ประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมถึงการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ชุมชนท่องเที่ยวให้เป็น ที่รู้จักในวงกว้าง การขับเคลื่อนโครงการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรมของจังหวัดพัทลุง ได้รับการพัฒนายกระดับการท่องเที่ยว โดยใช้กระบวนการขับเคลื่อนงานด้านการท่องเที่ยวมาเป็นเครื่องมือ ในการพัฒนาชุมชนเพื่อให้เกิดรายได้ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน กิจกรรมส่งเสริม ส่งเสริมการเรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติ โดยออกแบบและจัดทำเอกสารแนะนำโปรแกรมการท่องเที่ยว พื้นที่เป้าหมาย 9 ชุมชน ในจังหวัดพัทลุง เพื่อสนับสนุนการจัดทำโปรแกรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และรูปแบบกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติ และประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวชุมชนผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติในโปรแกรมการท่องเที่ยว เขา เขา : พื้นที่ภูเขา เป็นส่วนสำคัญของจังหวัดพัทลุง เนื่องจากเป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร ที่ส่งน้ำหล่อเลี้ยงพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัด มีลักษณะเป็นเทือกเขาที่มียอดสูง ๆ ต่ำๆ มีความสูงเฉลี่ยประมาณ ๘๐๐ เมตร และลาดไปทางทิศตะวันออกลงสู่ทะเลสาบสงขลา ในอัตราความลาดชัน ๒๕-๓๐ เปอร์เซ็นต์ เทือกเขานี้เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขานครศรีธรรมราช เรียกกันโดยทั่วไปในท้องถิ่นว่า เขาบรรทัด ประกอบด้วยภูเขาที่สำคัญ ได้แก่ เขาเขียว เขาคลองโลน เขานกรำ เขาช่องกระจก เขาเจ็ดยอด เขายางแตก และเขาหินแท่น ยอดเขาสูงสุด คือ เขาลูกหลัก เขาร้อน ซึ่งสูงถึง ๑.๓๒๒ เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง ตั้งอยู่ในเขตกึ่งอำเภอศรีนครินทร์ ส่วนคลองสายสำคัญ ได้แก่ คลองพรุพ้อ คลองป่าบอน คลองป่าพะยอม เป็นต้น อนึ่ง พื้นที่ภูเขานี้มีเนื้อที่รวมกันประมาณ ๘๓๕.๙๐ ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ ๒๔.๔๑ ของพื้นที่ทั้งหมด อยู่ในเขตพื้นที่บางส่วนของอำเภอป่าบอน ตะโหมด กงหรา ศรีนครินทร์ ศรีบรรพต และป่าพะยอม ป่า ป่า : พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน เป็นส่วนที่อยู่ถัดจากภูเขาบรรทัด หรือพื้นที่เชิงเขา ลักษณะภูมิประเทศเป็นเนินเตี้ยๆ ที่เรียกกันโดยทั่วไปในท้องถิ่นว่า ควน สลับด้วยที่ราบที่มีความลาดชันประมาณ ๕-๑๐ เปอร์เซ็นต์ ความสูงโดยเฉลี่ยประมาณ ๑๕๐ เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง มีเนื้อที่ประมาณ ๕๓๙.๗๐ ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ ๑๕.๗๖ ของพื้นที่ทั้งหมด อยู่ในเขตอำเภอป่าบอน ตะโหมด ศรีนครินทร์ กงหรา ศรีบรรพต และป่าพะยอม นา นา: พื้นที่ราบ ในเขตจังหวัดพัทลุง มีเนื้อที่รวมกันประมาณ ๑,๔๘๕.๕๔ ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ ๔๓.๓๘ ของพื้นที่ทั้งหมด ลักษณะพื้นที่ราบ มีเนินเขาปะปนอยู่ด้วย เนื่องจากอยู่ติดกับพื้นที่ภูเขา ความลาดชันประมาณ ๒-๕ เปอร์เซ็นต์ ความสูงเฉลี่ยประมาณ ๖ เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง และเนื่องจากเป็นที่ที่เหมาะแก่การกสิกรรม ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดจึงนิยมตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้ ซึ่งอยู่ในเขตอำเภอป่าพะยอม ควนขนุน เมืองพัทลุง เขาชัยสน บางแก้ว และปากพะยูน เล เล: พื้นที่เกาะ พื้นที่เกาะในบริเวณทะเลสาบสงขลาในเขตจังหวัดพัทลุง ได้แก่ เกาะราบ เกาะปราบ เกาะกระ เกาะหมาก เกาะเสือ เกาะโคบ เกาะทำเหียก เกาะแพ เกาะนางคำ เกะแกง เกาะยวน ตลอดจนเกาะต่างๆ ทั้งใหญ่-เล็ก ในหมู่เกาะสี่เกาะห้า อันประกอบด้วย เกาะยายโส เกาะตาโส เกาะป้อย เกาะกันตัง เกาะเข็ม เกาะหน้าเทวดา เกาะรูสิม เกาะท้ายถ้ำดำ เกาะรอก และเกาะร้านไก่ ปัจจุบันเกาะเหล่านี้ตั้งอยู่ในเขตอำเภอปากพะยูน มีเนื้อที่รวมกันประมาณ ๒๑๙.๑๗ ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ ๖.๔๐ ของพื้นที่ ทั้งหมด ส่วนใหญ่เป็นเขตพื้นที่ที่มีการตั้งถิ่นฐานของประชากร ได้แก่ เกาะราบ เกาะหมาก เกาะเสือ เกาะโคบ เกาะนางคำ เกาะแกง และเกาะยวน ส่วนพื้นที่เกาะที่เป็นถิ่นที่อยู่ของนกแอ่นกินรังมีเนื้อที่รวมกันประมาณ ๗๐๐ ไร่ หรือ ๑.๑๒ ตารางกิโลเมตร อำเภอตะโหมด Amphoe Tamot คำขวัญ: แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ หลักรวมใจสองศาสนา ศูนย์กลางการค้าแม่ขรี ยังมีเงาะป่าซาไก ที่ตั้งที่ว่าการ ที่ว่าการอำเภอตะโหมด หมู่ที่ 7 ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง 93160 ตะโหมด เป็นอำเภอในจังหวัดพัทลุง เดิมเป็นตำบลในเขตการปกครองของอำเภอปากพะยูน ในปี พ.ศ. 2499 ตำบลตะโหมดได้ถูกโอนย้ายมาขึ้นกับอำเภอเขาชัยสน[1] แยกตั้งเป็นกิ่งอำเภอตะโหมดในปี พ.ศ.2520 ก่อนที่จะยกฐานะขึ้นเป็นอำเภอตะโหมดในปี พ.ศ.2529 ที่ตั้งและอาณาเขต อำเภอตะโหมด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอกงหรา อำเภอเขาชัยสน และอำเภอบางแก้ว ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอบางแก้วและอำเภอป่าบอน ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอป่าบอนและอำเภอรัตภูมิ (จังหวัดสงขลา) ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอปะเหลียน (จังหวัดตรัง) สำนักงานพัฒนาชุมชน อำเภอตะโหมด ที่ว่าการอำเภอตะโหมด, อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง, 93160 เบอร์โทรศัพท์ 074695482 FAX 074695482 อีเมล์ [email protected] ชุมชนท่องเที่ยวOtopนวัตวิถี บ้านตะโหมด ประวัติความเป็นมา (ตำนาน) จากหลักฐานโบราณคดีเป็นชุมชนเก่าแก่ที่ตั้งถิ่นฐานมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้น ซึ่งได้ค้นพบพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ปางมารวิชัย และสันนิษฐานว่า คำว่า “ตะโหมด” มาจากคำว่า “โต๊ะหมูด” ซึ่งน่าจะเป็นชื่อของผู้นำมุสลิมที่ได้อพยพหนีสงครามมาจากไทรบุรี และได้ตั้งรกรากสร้างบ้านเรือนจนเรียกชื่อ บ้านว่า “บ้านโต๊ะหมูด” ซึ่งต่อมาเรียกเพี้ยนเป็น “บ้านตะโหมด” มาจนถึงปัจจุบัน หรืออีกเรื่องเล่า เป็นการค้าขายระหว่างประเทศโดยเดินช่องเขาตระ เพื่อข้ามไปยัง เมืองเก่าพัทลุง ซึ่งปัจจุบันเป็นที่ตั้งของชุมชนวัดพระบรมธาตุเจดีย์เขียนบางแก้ว ซึ่งสอดคล้องกับคำว่า โต๊ะหมูด เลยกลายเป็นคำเพี้ยน เป็นตะโหมดในปัจจุบัน โดยมีหลักฐานถ้วยสังโลกจากจีนในสมัยอดีตชุมชนตะโหมดนำสินค้าไปขายที่ตลาดบางแก้ว ซึ่งเป็นเมืองเก่าโดยมีสินค้าหลักเป็นน้ำมันยาง น้ำผึ้งป่า สินค้าทางการเกษตร และซื้อเครื่องครัวกลับมาดำรงชีวิตในสมัยต่อมา ชาวบ้านในชุมชนให้ความสำคัญกับการเรียนของลูกหลานและ ใช้เส้นทางเดินทางไปเรียนต่อที่ กรุงเทพโดยเส้นทางรถไฟ ที่สถานีบางแก้ว วัฒนธรรมประเพณีชุมชน -ชุมชนประเพณีสองวัฒนธรรมโดยทำบุญอุทิศให้บรรพบุรุษ ทั้งสองศาสนาพร้อมกัน ทุกวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ณ ศูนย์รวมใจสองศาสนา (ควนศพทวด) ย้อนยุควันสงกรานต์ เรื่มวันที่ 6 เมษายน ถึง 20 เมษายน ของทุกปี ซึ่งจะจัดในแต่ละแหล่งสลับกันไป กองข้าวเปลือกที่วัดตะโหมด ชาวนาลาซัง แข่งว่าวประเพณ ปิ่นโตร้อยสายวัดตะโหมด ธรรมชาติที่ดีของชุมชนทิวทัศน์นาโหนด ทุ่งนาข้าวอินทรีย์ ควนตาคม นาพ่อเฒ่า โคกหนองนาโมเดล และน้ำตกหม่อมจุ้ย ผลิตภัณฑ์เด่นของชุมชน 1. ไม้กวาดดอกหญ้า 2. ผ้ามัดย้อม 3. น้ำพริกทำมัง 4. ข้าวยำสมุนไพร 5. ข้างสังข์หยด 6. เมี่ยงคำข้างสังข์หยด 7. น้ำสมุนไพร 8. ผึ้งโพรง 9. ขนมกอแระ 10. ขนมเดือนสิบ 11. แสกจิ๋ว 12. เครื่องหนัง โปรแกรมการท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม ส่งเสริมการเรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวลงมือปฏิบัติกิจกรรมสินค้าผลิตภัณฑ์ ณ บ้านตะโหมด หมู่ที่ ๓ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทถุง กิจกรรม - นักท่องเที่ยวออกเดินทางโดยรถตู้ ณ บริเวณด้านหน้าศาลากลางจังหวัดพัทลุง - สักการะพ่อท่านช่วย วัดตะโหมด - เรียนรู้การทำอาหารพื้นถิ่น - ฐานเรียนรู้การทำข้าวยำสมุนไพร - ฐานการเรียนรู้การทำขนมพื้นบ้านขนมเดือนสิบ - ฐานการเรียนรู้การทำน้ำพริกทำมัง - ฐานการเรียนรู้การทำไม้กวาดดอกหญ้า (ผลิตภัตภัณฑ์ไม้กวาดจิ๋วประดับบ้าน) - ฐานการเรียนรู้การทำผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ (ผลิตภัณฑ์ผ้าคลุมไหล่มัดย้อม) - รับประทานอาหารกลางวันจากเมนูอาหารพื้นถิ่น -เยี่ยมชมศูนย์การเรียนรู้โคก หนอง นา โมเดล (นายอภัย สุวรณจินตา) - ฐานการเรียนรู้การทำเมี่ยงคำข้าวสังข์หยด - ฐานการเรียนรู้การทำน้ำสมุนไพร - เยี่ยมชมศูนย์รวมใจสองศาสนา ** เสร็จสิ้นกิจกรรม เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ** กิจกรรม โปรแกรมการท่องเที่ยว บ้านตะโหมด หมู่ที่ ๓ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทพัทถุง - สักการะพ่อท่านช่วย วัดตะโหมด ศูนย์สองศาสนาสถานที่ควนตาคม หนำนายการุณ - เรียนรู้การทำอาหารพื้นถิ่น - ฐานเรียนรู้การทำข้าวยำสมุนไพร - ฐานการเรียนรู้การทำขนมพื้นบ้านขนมเดือนสิบ - ฐานการเรียนรู้การทำน้ำพริกทำมัง - ฐานการเรียนรู้การทำไม้กวาดดอกหญ้า (ผลิตภัตภัณฑ์ไม้กวาดจิ๋วประดับบ้าน) - ฐานการเรียนรู้การทำผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ (ผลิตภัณฑ์ผ้าคลุมไหล่มัดย้อม) -เยี่ยมชมศูนย์การเรียนรู้ โคก หนอง นา โมเดล (นายอภัย สุวรณจินตา) - ฐานการเรียนรู้การทำเมี่ยงคำข้าวสังข์หยด - ฐานการเรียนรู้การทำน้ำสมุนไพรในธรรมชาติ - เยี่ยมชมศูนย์รวมใจสองศาสนาสัมผัสวิถีชีวิตพหุวัฒนธรรม ผ้ามัดย้อม ภัคนันท์ ชนะสิทธิ์ โทร.093-5613165 id.line pc.2416 ไม้กวาด นายฤทธิชัย สวนเกษตร โทร:093-5836434 นำ้พริกธัมมัง นางอำมร ทองรักษ์ โทร.081-4795514 ข้าวยำสมุนไพร อุบล สุวรรณจินดา โทร.087-4762450 เมี่ยงคำภูฟ่า (ข้าวสังข์หยด) อุบล สุวรรณจินดา โทร.087-4762450 ขนมเดือนสิบ คุณมาลินี ขุนไชยแก้ว โทร.097-2381031 ขนมไทยสูตรโบราณ คุณมาลี วัตรคล้าย โทร.080-9058441 สมุนไพร ภัคนันท์ ชนะสิทธิ์ โทร.093-5613165 id.line pc.2416 น้ำผึ้งโพรง ภัคนันท์ ชนะสิทธิ์ โทร.093-5613165 id.line pc.2416 อาหารถิ่น อาหารพื้นถิ่นของกินพื้นบ้าน อาหารพื้นเมืองภาคใต้ มีรสชาติโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ จึงมีรสชาติจัดเน้นเครื่องเทศ ด้วยสภาพอากาศร้อนชื้น ฝนตกตลอดปี อาหารประเภทแกงและเครื่องจิ้มจึงมีรสจัด ช่วยให้ร่างกายอบอุ่น ป้องกันการเจ็บป่วยได้ถูกเชื่อมโยงการบริโรคโดยวัฒนธรรม ความยากง่ายในการเสาะหาอาหารในฤดูกาล และปัจจัยทางสถานการณ์ ภูมิประเทศ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ความชอบ ความเชื่อ คุณค่าอาหารและการปรุงแต่ง และมีผักสารพัดชนิดที่เรียกว่า "ผักเหนาะ" ซึ่งเป็นพืชพื้นบ้านหาได้ในท้องถิ่นภาคใต้ เช่น ลูกเนียง ลูกเหนียง สะตอ ยอดกระถิน มากินร่วมด้วย เพื่อบรรเทารสเผ็ดของอาหาร ทั้งมีสรรพคุณเป็นยาอีกด้วย ของกินเล่น หรือขนมหวาน ก็มีมานานในตำรา ความหลากหลายในแต่ละพื้นที่มีไม่เหมือนกัน อย่างที่บ้านตะโหมดขอย้ำว่า หร่อยสุดแรง แกงคั่วหยวก ต้มกะทิผักเหรียง น้ำเคยปลาหงวด แกงส้มผักรวม คั่วหอย ปิ่นโต ข้าว แกงเผ็ด แกงจืด น้ำชุบผักเนาะ ขนมหวาน ผลไม้

ที่อยู่

Satun

เว็บไซต์

แจ้งเตือน

รับทราบข่าวสารและโปรโมชั่นของ อาสาพาไปผ่านทางอีเมล์ของคุณ เราจะเก็บข้อมูลของคุณเป็นความลับ คุณสามารถกดยกเลิกการติดตามได้ตลอดเวลา

ติดต่อ ธุรกิจของเรา

ส่งข้อความของคุณถึง อาสาพาไป:

วิดีโอทั้งหมด

แชร์