Journal of Human Rights and Peace Studies

Journal of Human Rights and Peace Studies A peer-reviewed journal published bi-annually by the Institute of Human Rights and Peace Studies, Ma

วารสารวิชาการด้านสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ดำเนินงานเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้และเป็นพื้นที่ถกเถียงเชิงวิชาการเพื่อการพัฒนาขับเคลื่อนสังคมสู่สันติภาพและความเป็นธรรมที่ยั่งยืนยิ่งขึ้น

📌 Call for papers: Vol. 11, Issue 1 (January – June 2025)Free! No submission fee!Journal of Human Rights and Peace Studi...
18/12/2024

📌 Call for papers: Vol. 11, Issue 1 (January – June 2025)
Free! No submission fee!
Journal of Human Rights and Peace Studies is calling for papers both in Thai and English under a key theme: "Conscience and Climate: The Role of Active Global Citizens in Promoting Well-Being and Peace through the Lens of SDGs"
Guide for authors:
English: Paper length is 6,000-8,000 words, including references, notes, tables and figures. The author should provide an abstract of 150-250 words with 3-5 keywords...
Thai: The length should be 15 – 20 pages of A4, including references, notes, tables and figures. Authors should provide an abstract of 150-250 words with 3-5 keywords...
Deadline on 30 December 2024
Read more information
Author guidelines: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/HRPS/Author
Contact Editors for inquiries: [email protected]
-----------------------------------
📌 เปิดรับบทความเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารสิทธิและสันติศึกษาปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม - กรกฎาคม 2568)
ไม่มีค่าใช้จ่าย!
วารสารสิทธิและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดลกำลังเปิดรับบทความเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารสิทธิและสันติศึกษาปีที่ 11 ฉบับที่ 1 ภายใต้ธีมหลักคือ "ความตระหนักรู้เกี่ยวกับภูมิอากาศ: บทบาทของพลเมืองโลกผู้ตื่นรู้ในการส่งเสริมสันติภาพและความเป็นอยู่ที่ดีผ่านมุมมองเอสดีจี"
คำแนะนำสำหรับผู้เขียน:
บทความภาษาอังกฤษ: ความยาวระหว่าง 6,000-8,000 คำ รวมบรรณานุกรม เชิงอรรถ ตารางและแผนภูมิ จำนวนบทคัดย่อระหว่าง 150-250 คำ และคำสำคัญ 3-5 คำ
บทความภาษาไทย: ความยาวประมาณ 15 – 20 หน้ากระดาษ A4 รวมบรรณานุกรม เชิงอรรถ ตารางและแผนภูมิ จำนวนบทคัดย่อระหว่าง 150-250 คำ และคำสำคัญ 3-5 คำ
สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม:
คำแนะนำผู้เขียน: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/HRPS/Author
สอบถามเพิ่มเติม: [email protected]

Journal of Human Rights and Peace Studies (JHRPS) would like to recommend an article published in Volume 10 Issue 1, 202...
16/12/2024

Journal of Human Rights and Peace Studies (JHRPS) would like to recommend an article published in Volume 10 Issue 1, 2024 to our beloved readers.

"Exploring Civil Disobedience Movement of Civilians in Thailand 2020-2021: Context, Conflict and Nonviolent Action", written by Saw Franklin Aye, explores the civil disobedience movement of civilians in Thailand from 2020 to 2021, a critical period in Thailand's recent history marked by widespread civil disobedience and political unrest. Beyond addressing the contextual and conflictual aspects, the research examines nonviolent action by identifying its types and methods and categorizing them within an applied framework. Using qualitative methodology, the study gathered primary and secondary data for analysis. The theoretical framework was applied flexibly, allowing for a nuanced examination and integration of the data into the established framework. Consequently, five types and thirteen methods were identified within three overarching categories of nonviolent action - protest and persuasion, noncooperation, and intervention. Five types comprised protests and demonstrations, online activism and campaigns, general strikes, the occupation of public spaces, and persuasion. Then, methods were marches on public thoroughfares, signs, slogans and demands, speeches, artwork, symbolic acts of resistance, the dissemination of information about the movement, forming networks and alliances, boycotts, political demands as part of strikes, disrupting and disobeying normal societal functions, drawing attention, and blocking public spaces through public rallies. The arguments in the study that the 2020-2021 Civil Disobedience Movement (CDM) of civilians in Thailand was not only a nonviolent action but also involved violent behavior and that the nonviolent CDM failed due to unmet political demands were conclusively validated.

For full text, please visit: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/HRPS/article/view/274997

16/12/2024

📢 Calling NGOs, civil society, and women’s rights organizations!

We’re inviting proposals to empower women migrant workers and prevent violence against women and girls in Southeast Asia!

Focus areas:
✔ Strengthen peer networks and safe spaces.
✔ Advocate for gender equality and anti-discrimination.
✔ Expand access to essential services for women migrants.

Selected projects will receive funding between $60–80K for implementation starting February 2025.

🗓 Deadline: Submit your proposals by 24 December 2024.

📄 Learn more & apply here: http://unwo.men/gvqi50Uruyl
This initiative is part of the PROTECT Project, funded by the European Union and implemented by UN Women , International Labour Organization, UNICEF, and UNODC - United Nations Office on Drugs and Crime.

16/12/2024

[English Below] #ชวนติดตามผลงานวิจัย "People Card Game" 🎴

✨People Card Game บอร์ดเกมส์เพื่อการเปลี่ยนแปลงโดยมีเป้าหมายสำคัญในการสร้างเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องความเป็นธรรมทางสังคม ผ่านการเล่นเกมที่สนุกสนานและแฝงไปด้วยสาระ โดยทีมผู้พัฒนานำแนวคิดจากหลักสูตร "การอบรมผู้นำการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมที่เป็นธรรม" มาประยุกต์ให้กลายเป็นสื่อการเรียนรู้รูปแบบใหม่ที่เข้าถึงง่าย สร้างความเข้าใจในเชิงลึก และกระตุ้นการมีส่วนร่วมของผู้เล่นในทุกช่วงวัย🧠

🎯People Card Game มีเป้าหมายของการพัฒนาเพื่อ

🌟 ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์: People Card Game ช่วยให้ผู้เล่นเข้าใจความแตกต่างของผู้คนในสังคมรอบตัว เพื่อสามารถพัฒนาความรู้ที่มีอยู่ให้เข้ากับการแก้ปัญของผู้คนที่หลากหลาย
🌏 การกระจายองค์ความรู้สู่สังคม: เกมนี้ออกแบบมาเพื่อเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลาย ทั้งนิสิตนักศึกษา เยาวชน และบุคคลทั่วไป
🤔 กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์และการวิเคราะห์: ผู้เล่นจะได้พัฒนาทักษะการคิด การรับฟัง การพูดคุยกันอย่างสร้างสรรค์ค์ และการตัดสินใจในบริบทที่ซับซ้อน
👩‍🏫 เป็นเครื่องมือในการอบรมและพัฒนาคนรุ่นใหม่: เกมนี้ถูกใช้ในโครงการอบรมต่าง ๆ เพื่อสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่พร้อมนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตจริง

👩‍🔬🌟 ผู้พัฒนา ดร.ศยามล เจริญรัตน์ หัวหน้าโครงการฯ และหัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางความมั่นคงของมนุษย์และความเท่าเทียม สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับทีมนักวิจัยสถาบันวิจัยเพื่อสังคมเป็นธรรม

🌈 ขอเชิญท่านที่สนใจร่วมสัมผัสประสบการณ์การเรียนรู้แบบใหม่ไปด้วยกัน People Card Game ไม่ใช่แค่เกมเพื่อความบันเทิง แต่เป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยสร้างความตระหนักรู้และกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับบุคคลและสังคม

📩 สอบถามข้อมูลเพิ่มได้ที่ : Page Human Security and Equity
--
"People Card Game" 🎴

✨ People Card Game is a board game designed to drive social change, with the primary goal of creating a tool to promote learning about social justice. Through engaging and meaningful gameplay, the game integrates ideas from the "Leadership for Transformative Social Justice" training course into an accessible and innovative learning medium. It deepens understanding and encourages participation from players of all ages. 🧠

🎯 The development goals of the People Card Game include:

🌟Promoting experiential learning: The game helps players grasp the diversity of people in society, fostering the ability to apply existing knowledge to address varied social challenges.
🌏Spreading knowledge to society: Designed for accessibility, the game targets diverse groups, including students, youth, and the general public.
🤔 Encouraging creativity and analytical skills: Players will develop critical thinking, active listening, constructive dialogue, and decision-making skills in complex scenarios.
👩‍🏫 A training and youth development tool: The game is used in training programs to develop leaders capable of applying their knowledge in real-world contexts.

👩‍🔬🌟 Developer: Dr. Sayamol Charoenrat, Project Leader and Head of the Center of Excellence in Human Security and Equity, Social Research Institute, Chulalongkorn University, collaborated with researchers from the Fair Society Research Institute.

🌈 Join us in experiencing this innovative learning tool. People Card Game is not just for entertainment but is vital for raising awareness and fostering individual and societal transformation.

📩 For more information, contact: Human Security and Equity
@ผู้ติดตาม

16/12/2024

Call for Panel การประชุมวิชาการมานุษยวิทยา 68
เปิดรับการอภิปรายเป็นกลุ่ม
หัวข้อ พหุปฏิสัมพันธ์: มนุษย์กับสิ่งไม่ใช่มนุษย์
(Interactive Pluralism: Human-Nonhuman)
จัดขึ้นวันที่ 7-9 ก.ค. 2568 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
โดยมีประเด็นย่อยที่เกี่ยวข้องต่อไปนี้
1) การซึมผ่านและการบรรจบกันของมนุษย์กับสิ่งอื่น (permeability & intersectionality)
2) ข้อสงสัยและความคลุมเครือเกี่ยวกับ autonomy และ agency
3) การแปรสภาพและความรีบเร่งของเทคโนโลยี (transformation & immediacy)
4) ปฏิสัมพันธ์กับความรับผิดชอบ (accountability)
5) การสูญเสียการควบคุม (lost control)
6) ความเปราะบางและความอ่อนแอ (fragility and vulnerability)
เงื่อนไขและข้อปฏิบัติ
1. ผู้เสนอหัวข้ออภิปรายส่งข้อเสนอการอภิปรายกลุ่มตามแบบฟอร์มที่กำหนด
2. ผู้เสนอหัวข้ออภิปรายเป็นผู้ประสานงานระหว่างผู้อภิปรายในกลุ่มกับศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เมื่อหัวข้ออภิปรายได้รับการคัดเลือก
3. ผู้เสนอหัวข้ออภิปรายอธิบายความสอดคล้องของหัวข้ออภิปรายกลุ่มกับหัวข้อการประชุม
4. กลุ่มอภิปรายต้องเขียนสาระสังเขปของหัวข้ออภิปรายกลุ่มประมาณ 8-10 บรรทัด
5. กลุ่มอภิปรายมีผู้อภิปรายไม่เกิน 3 คน มีผู้ดำเนินรายการ 1 คน
6. ผู้อภิปรายแต่ละคนต้องมีประเด็นของตนเองโดยสอดคล้องกับหัวข้ออภิปรายกลุ่ม
7. ผู้อภิปรายต้องเขียนสาระสังเขป อธิบายประเด็นที่จะอภิปรายประมาณ 4-5 บรรทัด
8. ผู้อภิปรายมีเวลานำเสนอคนละประมาณ 20-30 นาที
9. ผู้อภิปรายต้องเขียนสรุปเนื้อหาของการอภิปรายความยาวประมาณ 2-3 หน้ากระดาษ ขนาด A4 เมื่อหัวข้ออภิปรายได้รับการคัดเลือก
10. ผู้อภิปรายต้องเป็นนักวิชาการไทยหรือนักวิชาการต่างชาติที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย
11. ผู้อภิปรายหนึ่งคนสามารถร่วมอภิปรายกลุ่มได้ 1 หัวข้อเท่านั้น
12. กลุ่มอภิปรายที่ได้รับคัดเลือกจะต้องยืนยันเข้าร่วมการประชุมภายในเดือนพฤษภาคม 2568
🚩 ระยะเวลาการส่งข้อเสนอของ Panel ตั้งแต่วันที่ 16 ธ.ค. 2567 ถึงวันที่ 28 ก.พ. 2568
ดาวน์โหลดแบบฟอร์มข้อเสนอที่
👉 https://www.sac.or.th/portal/th/news/detail/301
ส่งข้อเสนอมาที่อีเมล [email protected] (วิสุทธิ์ เวชวราภรณ์)
ประกาศรายชื่อหัวข้อและผู้ได้รับการคัดเลือก ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2568
สอบถามรายละเอียด โทร. 02 880 9429 ต่อ 3807 (นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ) ในเวลาราชการ
#มานุษยวิทยา68 #พหุปฏิสัมพันธ์ #มนุษย์ #สิ่งไม่ใช่มนุษย์

12/12/2024

📌คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ขอเชิญผู้สนใจร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ในกิจกรรม IRB Talk ครั้งที่ 16
เรื่อง "จริยธรรมในการวิจัยเชิงคุณภาพ"
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ชาย โพธิสิตา และรองศาสตราจารย์ ดร.สิรินทร์ยา พูลเกิด
ดำเนินรายการโดย รองศาสตราจารย์ ดร.จรัมพร โห้ลำยอง
⭐ ในวันพฤหัสบดีที่ 12 ธันวาคม 2567 ⏰ เวลา 12.00-13.00 น.
ผ่าน ZOOM
https://zoom.us/j/92035820460?pwd=U2Zkb2lJTHdqWitsZmZZeFc5Um10Zz09
Meeting ID: 920 3582 0460
Passcode: 206909
หรือ Facebook Live: https://facebook.com/IPSRMAHIDOLUNIVERSITY

11/12/2024

📢 Join us for the International Experts Sharing: Cultural Creativity from Educational Perspective! 🌏✨

Explore innovative ideas and trends in education with leading experts from across Asia. Don’t miss this opportunity to gain valuable insights and connect directly with professionals shaping the future of learning.

🗓️ Date: Friday, December 13, 2024
⏰ Time: 3:00–4:30 PM (GMT+8)
📍 Zoom: 538 596 4216 | Passcode: 123

👉 Register Now: https://bit.ly/catecp-dec-webinar-series

11/12/2024
11/12/2024
11/12/2024

แอมเนสตี้ ประเทศไทย ขอเชิญผู้สนใจเข้าร่วม กิจกรรม “Activism Space ครั้งที่ 2: เขียนเปลี่ยนโลก พลังแห่งการเคลื่อนไหวผ่านตัวอักษร”
กิจกรรมประกอบด้วย
🖊️ นิทรรศการ “เขียนเปลี่ยนโลก: พลังแห่งการเคลื่อนไหวผ่านตัวอักษร”
🎲 บอร์ดเกมสิทธิมนุษยชน เกมที่จะชวนทุกคนมาสนุกไปกับเรื่องสิทธิในชีวิตประจำวัน พร้อมเรียนรู้สถานการณ์สิทธิมนุษยชนทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศ
🎨 นิทรรศการ ดนตรี ภาพถ่าย กวี เพื่อสิทธิมนุษยชนและสันติภาพ
💬 พูดคุยกับนักกิจกรรมเยาวชน ที่ออกมาเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพในการแสดงออก รวมถึงประสบการณ์จากการถูกคุกคาม และบอกเล่าเรื่องราวการเยี่ยมเพื่อนที่ถูกคุมขังจากคดีทางการเมือง โดย ธี ธีรภัทร และ เพชร ธนกร
บูธกิจกรรมเป็นส่วนหนึ่งของการประชุมวิชาการ "องค์ความรู้สิทธิมนุษยชนและสันติภาพ : 76 ปี ปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน" เนื่องในโอกาสครบรอบ 76 ปีแห่งปฏิญญาสิทธิมนุษยชนสากล (Universal Declaration of Human Rights) ซึ่งประกาศเมื่อ 10 ธันวาคม 1948
กิจกรรมในครั้งนี้ยังเป็นการร่วมแสดงความยินดีกับหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสิทธิมนุษยชน สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา ซึ่งเปิดการเรียนการสอนมาตั้งแต่ปี 1999 นับเป็นหลักสูตรแรกของเอเชียและได้ครบรอบ 25 ปี ในปีนี้ โดยทางแอมเนสตี้ ประเทศไทย ได้ร่วมกับทางสถาบันฯ จัดกิจกรรมแสดงผลการดำเนินงานที่ผ่านมาเพื่อสื่อสารกับทั้งประชาคมภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นส่วนหนึ่งของทิศทางการขับเคลื่อนต่อไปในอนาคตร่วมกัน
🌟 พบกัน 🌟
🗓 วันพุธที่ 11 ธันวาคม 2567
🕘 เวลา 09:00-17:00 น.
📌 อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา
ลงทะเบียนได้ที่: https://bit.ly/4fa9CSg
สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก https://www.facebook.com/share/p/15faoaS6Qt/

10/12/2024

During COVID, CPCS reflected on the challenges and opportunities of working online for peace. Our founder and senior mediator, Dr. Emma Leslie, recently revisited those lessons in a new paper entitled "Peacebuilding Online: Lessons and Principles for a Changing World (2024 Edition)". This insightful paper explores how we can sustain peace processes online and adapt to the evolving digital landscape.

Download your free copy here: https://www.centrepeaceconflictstudies.org/peacebuilding-online-lessons-and-principles-for-a-changing-world-2024-edition/

Journal of Human Rights and Peace Studies (JHRPS) would like to recommend an article published in Volume 10 Issue 1, 202...
09/12/2024

Journal of Human Rights and Peace Studies (JHRPS) would like to recommend an article published in Volume 10 Issue 1, 2024 to our beloved readers.

"Rights Protection for Returned Human Trafficking Victim: A Case Study of Lao Cai Province", by Phan Thanh Thanh, aims to evaluate if and how the rights of human trafficking victims have been protected in Lao Cai Province, Vietnam. This research shows although there have been legal improvements and ratifications at the regional and national levels against human trafficking and to protect trafficking victims, gaps appear in the implementation process. It also shows that in terms of receiving and supporting the victims, local government resources, including funding, physical facilities, and specialized staff, are still limited and rely heavily on the funds/resources of NGOs. Many victims still live in unsafe social environments after being trafficked. These issues suggest that allocating adequate resources(finance, capacity of protection agencies and staff) and coordination among different agencies need to be addressed.

For full text, please visit: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/HRPS/article/view/272059/184245

05/12/2024

Call for Papers: “Dealing with Legacies in Burma” at the 16th International Burma Studies Conference from October 3-5, 2025

The Center for Burma Studies at Northern Illinois University, the Burma Studies Foundation and the Burma Studies Group invite scholars and students to examine intertwined memories, legacies, and histories of interaction between and throughout the different regions of Burma/Myanmar.

We welcome scholarship that understands Burma as a distinctive cultural crossroads in a larger Asian geographical, political and historical context. We thus encourage contributions that attempt to bridge different spaces, times, and disciplines, which includes (but is not limited to) history, philosophy, religion, literature, art history, sociology, anthropology, archaeology, economics, political science, gender studies, environmental studies, and law.

More information: https://www.centerforburmastudies.com/ibsc.html/

ขอบคุณในการช่วยปชส.
04/12/2024

ขอบคุณในการช่วยปชส.

📣ข่าวประชาสัมพันธ์
📢เปิดรับบทความเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารสิทธิและสันติศึกษาปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม – กรกฎาคม 2568) ไม่มีค่าใช้จ่าย!
วารสารสิทธิและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดลกำลังเปิดรับบทความเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารสิทธิและสันติศึกษาปีที่ 11 ฉบับที่ 1 ภายใต้ธีมหลักคือ “ความตระหนักรู้เกี่ยวกับภูมิอากาศ: บทบาทของพลเมืองโลกผู้ตื่นรู้ในการส่งเสริมสันติภาพและความเป็นอยู่ที่ดีผ่านมุมมองเอสดีจี”
คำแนะนำสำหรับผู้เขียน:
บทความภาษาอังกฤษ: ความยาวระหว่าง 6,000-8,000 คำ รวมบรรณานุกรม เชิงอรรถ ตารางและแผนภูมิ จำนวนบทคัดย่อระหว่าง 150-250 คำ และคำสำคัญ 3-5 คำ
บทความภาษาไทย: ความยาวประมาณ 15 – 20 หน้ากระดาษ A4 รวมบรรณานุกรม เชิงอรรถ ตารางและแผนภูมิ จำนวนบทคัดย่อระหว่าง 150-250 คำ และคำสำคัญ 3-5 คำ
สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม:
คำแนะนำผู้เขียน: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/HRPS/Author
สอบถามเพิ่มเติม: [email protected]

ที่อยู่

999 Mahidol University. Panyapiphat Building Salaya Nakhon Pathom
Nakhon Phanom
73170

เบอร์โทรศัพท์

+6624410813

แจ้งเตือน

รับทราบข่าวสารและโปรโมชั่นของ Journal of Human Rights and Peace Studiesผ่านทางอีเมล์ของคุณ เราจะเก็บข้อมูลของคุณเป็นความลับ คุณสามารถกดยกเลิกการติดตามได้ตลอดเวลา

ติดต่อ ธุรกิจของเรา

ส่งข้อความของคุณถึง Journal of Human Rights and Peace Studies:

แชร์

ประเภท

ตำแหน่งใกล้เคียง บริษัท สื่อ


Nakhon Phanom บริษัท สื่ออื่นๆ

แสดงผลทั้งหมด