โครงการโรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม (Fabrication Lab) จังหวัดเชียงใหม่-บรรยายช่วงที่ 2 โรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม (Fabrication Lab) เพื่อพัฒนาทักษะความเป็นนวัตกรแก่เด็กและเยาวชนไทย โดย คุณฤทัย จงสฤษดิ์ สวทช.
ช่วงที่ 3 เสวนา "Fabrication Lab ในสถานศึกษา" โดยผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้ประสานงานโครงการโรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการโรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม (Fabrication Lab) จังหวัดเชียงใหม่-บรรยายช่วงที่ 1 ศาสตร์และศิลป์ของการเรียนรู้ผ่าน Fabrication Lab โดย ดร.อานันท์ สีห์พิทักษ์เกียรติ หัวหน้าโครงการโรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม (Fabrication Lab) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการโรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม (Fabrication Lab) จังหวัดเชียงใหม่-บรรยายช่วงที่ 1 ศาสตร์และศิลป์ของการเรียนรู้ผ่าน Fabrication Lab โดย ดร.อานันท์ สีห์พิทักษ์เกียรติ หัวหน้าโครงการโรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม (Fabrication Lab) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการโรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม (Fabrication Lab) จังหวัดเชียงใหม่-บรรยายช่วงที่ 1 ศาสตร์และศิลป์ของการเรียนรู้ผ่าน Fabrication Lab โดย ดร.อานันท์ สีห์พิทักษ์เกียรติ หัวหน้าโครงการโรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม (Fabrication Lab) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการโรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม (Fabrication Lab) จังหวัดเชียงใหม่-พิธีเปิด
คำขอบคุณจากผู้แทนผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการที่ เรา ชื่นใจ
ขอบคุณนะคะ
สื่อเผยแพร่ ชุดการผลิตอาหารหมักจากเศษวัสดุเหลือทิ้งเพื่อลดต้นทุนในการเลี้ยงโค
ตอนที่ 2 : อาหารโคและการคำนวณน้ำหนักโค
จัดทำโดย :
สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
ที่มา :
มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สื่อเผยแพร่ ชุดการผลิตอาหารหมักจากเศษวัสดุเหลือทิ้งเพื่อลดต้นทุนในการเลี้ยงโค
ตอนที่ 1 : การเลี้ยงโคเนื้อเบื้องต้น
จัดทำโดย :
สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
ที่มา :
มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เยี่ยมชม ศูนย์เรียนรู้ในโรงเรียน
ผอ.อำนาจ โรงเรียนวัดเขาน้อย พรหมพิราม พิษณุโลก
เล่าให้ทีมงาน ฟังเกี่ยวกับ ศูนย์เรียนรู้การผลิตเตาชีวมวลกรุห้องเผาไหม้และเครื่องกลั่นน้ำส้มควันไม้ และการแปรรูปเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากเครื่องและเตา
การทำงานร่วมกัน ระหว่าง บ้าน-วัด-โรงเรียน (บวร) โดยการสนับสนุนด้านเทคโนโลยีที่เหมาะสมจาก มหาวิทยาลัยและ สวทช.ภาคเหนือ ที่ปัจจุบันมีผลการก่อตั้ง 2วิสาหกิจชุมชนที่เกี่ยวข้อง พ่อบ้านผลิตเครื่อง/เตา แม่บ้านแปรรูปผลิตภัณฑ์ ช่วยกันจำหน่าย วัดรวบรวมคนทำงาน โรงเรียนเป็นจุดผลิต จุดถ่ายทอด พ่อบ้านแม่บ้านมาเป็นครูสอนนักเรียน เป็นที่รวมชุมชน เป็นจุดดูงานทั้งชาวพิษณุโลก ชาวไทย และชาวต่างประเทศ